ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2563

ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2563 102 การคำ �นวณเส้นความยากจนในหมวดที่ไม่ใช่อาหาร (non-food ำ้ี่่่ poverty line) การคำ �นวณเส้นความยากจนในหมวดสินค้าที่ไม่ใช่อาหารยังคงยึดทฤษฎีเรื่องอรรถประโยชน์ โดยมีขั้นตอน ดังนี้ (1) คำ �นวณหา Poverty Line food ratio (PL food) ซึ่งเท่ากับ ค่าใช้จ่ายด้านอาหารต่อหัว ของครัวเรือน หาร เส้นความยากจนด้านอาหารคูณ 100 ถ้า PL food มีค่าเท่ากับ 100 หมายความว่า ค่าใช้จ่ายด้านอาหารต่อหัวของครัวเรือนเท่ากับเส้นความยากจนด้านอาหาร แต่เนื่องจากจำ �นวน ครัวเรือนที่จะเป็นตัวแทนดังกล่าวอาจมีจำ �นวนน้อยเกินไป เพื่อให้ได้ตัวแทนที่ดีกว่าจึงใช้วิธีคำ �นวณหา เลือกครัวเรือนที่มีค่า PL food อยู่ระหว่าง 90-110 100 h h h FExp PL food Fline =  (2) เมื่อได้ครัวเรือนที่อยู่ช่วง PL food แล้ว ให้ตัดรายจ่ายในหมวดสินค้าที่ไม่ใช่อาหาร บางรายการ ได้แก่ ค่ารักษาพยาบาลคนไข้นอก (รายการ 7.2) ค่าซื้อยานพาหนะ (รายการ 8.1) ค่าใช้ จ่ายเกี่ยวกับยานพาหนะ (รายการ 8.2) ค่าเล่าเรียนในโรงเรียนเอกชน (รายการ 9.2) ค่าการศึกษาอื่น ๆ (รายการ 9.5) และตัดตัวอย่างครัวเรือนที่อยู่ใน decile6-decile10 เนื่องจากรายการใช้จ่ายดังกล่าว และ รายจ่ายของครัวเรือนในกลุ่ม decile6-decile10 ไม่ควรจะถูกนับรวมเพื่อสะท้อนพฤติกรรมการใช้จ่ายใน หมวดที่ไม่ใช่อาหารของคนจน (3) หาค่าเฉลี่ยของค่าใช้จ่ายในหมวดสินค้าที่ไม่ใช่อาหารของกลุ่มที่เหลือ แยกเป็น 9 พื้นที่ โดยที่พื้นที่กรุงเทพฯ จะรวมเมืองใหญ่ ได้แก่ สมุทรปราการ เชียงใหม่ ภูเก็ต และตรัง เพื่อให้มีจำ �นวน ตัวอย่างมากเพียงพอในการเป็นตัวแทนการคำ �นวณรายจ่ายที่ไม่ใช่อาหารของคนกรุงเทพฯ จะได้ รายจ่ายในหมวดสินค้าที่ไม่ใช่อาหารเฉลี่ยต่อหัว (per capita non-food expenditure) ของครัวเรือน กลุ่มดังกล่าวจำ �แนกตามพื้นที่ โดยแบ่งกลุ่มสินค้าที่ไม่ใช่อาหารออกเป็น 9 กลุ่ม ได้แก่ ค่าใช้จ่าย เกี่ยวกับที่อยู่อาศัย ค่าใช้จ่ายในครัวเรือน ค่าจ้างบุคคลที่ให้บริการครัวเรือน ค่าเสื้อผ้า ค่ารองเท้า ค่าใช้จ่ายส่วนบุคคล ค่ารักษาพยาบาล ค่าเดินทางและการสื่อสาร ค่าใช้จ่ายการศึกษา / rj hj r h in r NF NF I = ∑ โดยที่ rj NF เป็นค่าเฉลี่ยเฉพาะครัวเรือนในพื้นที่ r hj NF เป็นรายจ่ายต่อสินค้าหมวด j ของครัวเรือน h และ r I แทนจำ �นวนประชากรในพื้นที่ r

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==