ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2563

ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2563 10 แนวคิดและทฤษฎีที่ใช้ในการคำ �นวณเส้นความยากจน มีดังนี้ 1) ทฤษฎีอรรถประโยชน์สูงสุดของผู้บริโภค (Consumer Theory): คนรวยที่บริโภคสินค้า ราคาแพง จะได้รับความพอใจเท่ากับคนจนที่บริโภคอาหารราคาไม่แพง 2) คำ �นึงถึง “มาตรฐานการครองชีพ” ที่แตกต่างกันในแต่ละพื้นที่ (Specification): ครัวเรือนที่อาศัยอยู่ในต่างพื้นที่ และต่างสังคมกัน จะมีมาตรฐานการครองชีพที่แตกต่างกัน 3 ) กำ �หนดให้มีการประหยัดต่อขนาด (Economy of Scale) ในการบริโภคสินค้าแต่ละ ประเภท ตามตารางที่ 2.1 การประหยัดต่อขนาด มีค่าตั้งแต่ 0 ถึง 1 โดยถ้ามีค่าเท่ากับ 0 หมายความว่าั่ี่ั้่ึ้ี่่ั่ สามารถแบ่งกันบริโภคได้อย่างสมบูรณ์ และหากเท่ากับ 1 หมายความว่าไม่สามารถแบ่งกันบริโภคได้่ัิู้่์่ั่่่ัิ้ เลย ตาราง 2.1 การประหยัดต่อขนาด (Economy of Scale) สำ �หรับการบริโภคสินค้าแต่ละหมวด หมวด รายการ Economy of Scale Parameter 1 อาหาร 0.9 2 ค่าเสื้อผ้าและรองเท้า 0.9 3 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย 0.2 4 ค่าเชื้อเพลิงและแสงสว่าง 0.2 5 ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ดในบ้าน 0.2 6 ค่ารักษาพยาบาล 1.0 7 ค่าใช้จ่ายส่วนบุคคล 1.0 8 ค่าเดินทางและคมนาคม สัดส่วนคนทำ �งานและนักเรียน 9 ค่าใช้จ่ายด้านการสื่อสาร สัดส่วนคนทำ �งานและนักเรียน 10 ค่าใช้จ่ายด้านการศึกษา สัดส่วนนักเรียน ตัวอย่างเช่น ค่าเชื้อเพลิงและแสงสว่าง มีค่าการประหยัดต่อขนาด (Economy of Scale) เท่ากับ 0.2 ซึ่งหมายความว่า ค่าเชื้อเพลิงและแสงสว่างสามารถใช้ร่วมกันได้ โดยไม่ทำ �ให้ค่าใช้จ่ายเพิ่ม ขึ้นมาก การอยู่คนเดียวหรืออยู่สองคน อาจมีค่าใช้จ่ายที่เท่า ๆ กันได้ ในขณะที่ค่าเสื้อผ้าและรองเท้า มีค่าการประหยัดต่อขนาด (Economy of Scale) เท่ากับ 0.9 ซึ่งหมายความว่า ค่าเสื้อผ้าและรองเท้าเป็น ค่าใช้จ่ายที่แทบจะไม่ สามารถใช้ร่วมกันได้ ที่มา: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, รายงานฉบับสมบูรณ โครงการศึกษาประเด็นเชิงนโยบาย ด้านความยากจนและการกระจายรายได้ 2556, หน้า 156

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==