ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2563
ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2563 20 บทที่ 3 ผลการวิเคราะห์ 3.1 ครัวเรือนยากจนแฝงในประเทศไทยั วื อ ในบทนี้ เป็นการนำ �เสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากการแบ่งครัวเรือนออกเป็น 4 ประเภท ซึ่งได้แก่ ครัวเรือนยากจนแฝงทั้งสองด้าน (ประเภทที่ 1) ครัวเรือนยากจนแฝงด้านอาหาร (ประเภทที่ 2) ั วื อั้ ง้ าี่ ัวื อ้ าี่ ครัวเรือนยากจนแฝงด้านที่ไม่ใช่อาหาร (ประเภทที่ 3) และครัวเรือนไม่ยากจนแฝง (ประเภทที่ 4)ั วื อ้ าี่ ไ่ ใ่ อี่ ั วื อ่ ยี่ โดย ใช้ข้อมูลโครงการสำ �รวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน พ.ศ. 2563 ของสำ �นักงานสถิติแห่งชาติ ซึ่งมีจำ �นวนครัวเรือนตัวอย่าง 48,210 ครัวเรือน และไม่มีการถ่วงน้ำ �หนัก (Unweight Data) ผลการวิเคราะห์ในบทนี้ แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 เป็นการศึกษาลักษณะของ ครัวเรือนยากจนแฝงในประเทศไทย โดยใช้สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) ส่วนที่ 2 เป็นการจำ �ลอง สถานการณ์ (Scenario) การเปลี่ยนแปลงประเภทของครัวเรือนยากจนแฝง เมื่อเปลี่ยนแปลงค่าใช้จ่ายที่ ไม่เกี่ยวข้องกับการอุปโภคบริโภคให้เป็นค่าใช้จ่ายด้านอาหาร และส่วนที่ 3 เป็นการศึกษาปัจจัยที่มี อิทธิพลต่อการเป็นครัวเรือนยากจนแฝงกลุ่มที่สนใจ ในส่วนนี้ จะทำ �การศึกษาวิเคราะห์ลักษณะบางประการที่น่าสนใจของครัวเรือนยากจนแฝง ในประเทศไทย โดยจำ �แนกครัวเรือนออกเป็นครัวเรือนยากจนและครัวเรือนไม่ยากจน ตามเกณฑ์เส้น ความยากจน (Poverty Line: PL) ของสำ �นักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และจำ �แนก ครัวเรือนตามประเภทของครัวเรือนยากจนแฝง 4 ประเภท ทั้งนี้ ตามความสัมพันธ์ในห้วข้อ 2.4 พบว่า ครัวเรือนยากจนัื ประกอบด้วยครัวเรือน ยากจนแฝงทั้งสองด้าน (ประเภทที่ 1) ครัวเรือนยากจนแฝงด้านอาหาร (ประเภทที่ 2) และครัวเรือน ยากจนแฝงด้านที่ไม่ใช่อาหาร (ประเภทที่ 3) เท่านั้น ส่วนครัวเรือนไม่ยากจน ่ วั วื อ่ ย จะประกอบด้วยครัวเรือน ยากจนแฝงด้านอาหาร (ประเภทที่ 2) ครัวเรือนยากจนแฝงด้านที่ไม่ใช่อาหาร (ประเภทที่ 3) และ ครัวเรือนไม่ยากจนแฝง (ประเภทที่ 4) เท่านั้น
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==