ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2563

ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2563 50 ดังนั้น การจำ �ลองสถานการณ์ (Scenario) ส่วนนี้ จึงทำ �การแปลงค่าใช้จ่ายที่ไม่เกี่ยวข้องกับ การอุปโภคบริโภคในรายการที่สนใจให้เป็นค่าใช้จ่ายด้านอาหารทั้งหมด โดยจะศึกษาการเปลี่ยนแปลง ประเภทครัวเรือนของครัวเรือนยากจนแฝงทั้งสองด้าน (ประเภทที่ 1) และครัวเรือนยากจนแฝงด้านอาหาร (ประเภทที่ 2) เท่านั้น เนื่องจากครัวเรือนทั้งสองประเภทดังกล่าว เป็นครัวเรือนที่มีค่าใช้จ่ายด้านอาหาร ต่ำ �กว่าเส้นความยากจนด้านอาหาร ส่วนครัวเรือนยากจนแฝงด้านที่ไม่ใช่อาหาร (ประเภทที่ 3) และ ครัวเรือนไม่ยากจนแฝง (ประเภทที่ 4) ซึ่งเป็นครัวเรือนที่มีค่าใช้จ่ายด้านอาหารไม่ต่ำ �กว่าเส้นความยากจน ด้านอาหาร หรือผ่านเกณฑ์เส้นความยากจนด้านอาหารอยู่แล้วนั้น จะไม่อยู่ในขอบข่ายที่ต้องการศึกษา ครั้งนี้ ทั้งนี้ ผลที่ได้จากการจำ �ลองสถานการณ์ จะเป็นประโยชน์ต่อการวางแนวทางการจัดทำ �นโยบาย การขจัดความยากจนแฝงด้านอาหารของภาครัฐได้ ทั้งนี้ เมื่อแปลงค่าใช้จ่ายที่ไม่เกี่ยวข้องกับการอุปโภคบริโภคที่สนใจ ให้เป็นค่าใช้จ่ายด้าน อาหารแล้ว ครัวเรือนยากจนแฝงทั้งสองด้าน (ประเภทที่ 1) อาจจะยังคงสถานะเดิมคือเป็นครัวเรือน ยากจนแฝงทั้งสองด้าน (ประเภทที่ 1) หรืออาจจะขยับไปเป็นครัวเรือนยากจนแฝงด้านที่ไม่ใช่อาหาร (ประเภทที่ 3) ได้ ส่วนครัวเรือนยากจนแฝงด้านอาหาร (ประเภทที่ 2) อาจจะยังคงสถานะเดิมคือเป็น ครัวเรือนยากจนแฝงด้านอาหาร (ประเภทที่ 2) หรืออาจจะขยับไปเป็นครัวเรือนไม่ยากจนแฝง (ประเภท ที่ 4) ได้ สำ �หรับค่าใช้จ่ายที่ไม่เกี่ยวกับการอุปโภคบริโภค พบว่า รายการค่าใช้จ่ายที่ไม่เกี่ยวกับการ อุปโภคบริโภคหลายรายการ เช่น ภาษีเงินได้ ภาษีบำ �รุงท้องที่ ค่าปรับจราจร เงินสมทบประกันสังคม ไม่สามารถนำ �ไปแปลงเป็นค่าใช้จ่ายด้านอาหารหรือค่าใช้จ่ายด้านที่ไม่ไช่อาหารได้ เนื่องจากเป็นภาระ หน้าที่ซึ่งต้องกระทำ �ตามกฎหมาย ในการวิเคราะห์ส่วนนี้ จึงเลือกเฉพาะรายการสำ �คัญที่ครัวเรือนสามารถ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการใช้จ่ายได้ จำ �นวน 2 รายการ ได้แก่ 1 2 ค่าซื้อสลากกินแบ่ง หวยของรัฐ เล่นม้าแข่ง และการพนันอื่นๆ ่ าื้ อิ น่ งั ฐ่ น้ า่ งั นื่ น บริจาคเงินหรือซื้อสิ่งของให้แก่องค์กรและมูลนิธิต่าง ๆิ จิ นื อื้ อิ่ ง้ แ่ อ์ กู ลิ ธิต่า

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==