ความชุกความไม่มั่นคงทางอาหารของประชากร โดยใช้เกณฑ์การวัดประสบการณ์ความไม่มั่นคงทางอาหาร
23 ตารางที่ 3.6 Residual Correlation Matrix ชุดคำสั่งโปรแกรม R Worried Healthy Fewfood Skipped AteLess RunOut Hungry WholeDay Healthy -0.08 -0.11 -0.13 -0.16 -0.16 -0.19 -0.08 Fewfood 0.23 -0.08 -0.02 0.02 -0.07 -0.08 Skipped 0.01 0.16 0.09 -0.02 -0.06 AteLess 0.16 0.03 0.15 0.02 RunOut 0.15 0.07 0.00 Hungry 0.09 0.02 WholeDay 0.17 FIES Application Worried Healthy Fewfood Skipped AteLess RunOut Hungry WholeDay Healthy -0.08 -0.13 -0.14 -0.23 -0.10 -0.18 -0.08 Fewfood 0.22 -0.08 -0.04 0.03 -0.04 -0.11 Skipped 0.02 0.17 0.10 0.00 -0.05 AteLess 0.14 0.03 0.17 0.04 RunOut 0.10 0.07 0.04 Hungry 0.10 0.05 WholeDay 0.15 จากตารางที่ 3.6 พบว่าค่า Residual correlation ที่ ได้จากแพ็กเกจ RM.weights และ FIES Application มีค่าแตกต่างกันเล็กน้อย โดยมีค่าน้อยกว่า | 0.4 | ในทุกคู่ข้อถาม ซึ่งสามารถสรุปได้ว่าข้อถาม แต่ละข้อมีความเป็นอิสระซึ่ งกันและกัน ไม่มีความซ้ำซ้อนหรือมีปัญหาทางด้านเนื้อหาที่อาจส่งผลต่อ ความเชื่อถือของการวัด ส่วน Rasch reliability แบบจำลองให้ค่าความน่าเชื่อถือที่ 0.76 ซึ่งมากกว่าเกณฑ์ที่ยอมรับได้คือ 0.7 แสดงให้เห็นว่าแบบจำลองที่ใช้ในการวิเคราะห์มีความเหมาะสมในการวัดความไม่มั่นคงทางอาหาร
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==