Report on Gender Statistic 2023

64 ที่มา : รายงานก� ำลังคนภาครัฐในฝ่ายพลเรือนสามัญ พ.ศ. 2560 - 2564 ส� ำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ตาราง 10 ร้อยละของผู้บริหารภาครัฐ จ� ำแนกตามเพศ พ.ศ. 2560 - 2564 บทบาททางสังคม 2560 2561 2562 2563 2564 ผู บริหารในภาคราชการพลเรือนสามัญ 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 หญิง 17.8 19.5 18.7 21.3 18.8 ชาย 82.2 80.5 81.3 78.8 81.3 ผู บริหารในภาคราชการตำรวจ 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 หญิง 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 ชาย 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 ผู บริหารในภาคราชการตุลาการ 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 หญิง 11.1 11.1 11.1 16.7 16.7 ชาย 88.9 88.9 88.9 83.3 83.3 ผู บริหารในภาคราชการอัยการ 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 หญิง 15.6 12.0 6.6 10.5 10.5 ชาย 84.4 88.0 93.4 89.5 89.5 ผู บริหารในภาคราชการองค กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ ** 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 หญิง 36.4 31.0 35.4 27.9 31.5 ชาย 63.6 69.0 64.6 72.2 68.5 ผู บริหารในภาคราชการรัฐสภา 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 หญิง 75.0 58.3 61.5 46.7 50.0 ชาย 25.0 41.7 38.5 53.3 50.0 ตัวชี้วัดเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เป้าหมายที่ 5 ส่งเสริมในด้านความ เท่าเทียมทางเพศ ซึ่งประเทศไทยได้ให้ความส� ำคัญและรณรงค์เรื่องการเป็นผู้น� ำ ของสตรี ความเท่าเทียมและความเสมอภาคทางเพศมาโดยตลอด ส่งผลให้ปัจจุบัน บทบาททางสังคมในด้านการท� ำงานของผู้หญิงเริ่มเปลี่ยนแปลงไป จากตาราง 10 แสดงให้เห็นว่า การด� ำรงต� ำแหน่งผู้บริหารในภาคราชการพลเรือนสามัญมีสัดส่วน เพิ่มขึ้น จากปี 2560 ร้อยละ 17.8 เป็นร้อยละ 18.8 ในปี 2564

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==