รายงานการศึกษาค่าคาดการณ์อัตราการว่างงานของประเทศไทย

5 2.6 บูรณาการความร่วมมือทุกภาคส่วนในการให้บริการด้านแรงงาน พัฒนาและ ปรับปรุง ระบบค่าจ้างและ รายได้ สวัสดิการ สิทธิประโยชน์ และความปลอดภัยในการทำงาน 2.7 สื่อสารเชิงรุกด้านแรงงาน เพื่อให้แรงงานรับรู้บริการของกระทรวงแรงงานและสิทธิ ประโยชน์แรงงาน 4. นโยบายไทยแลนด์ 4 . 0 โดยนโยบายไทยแลนด์ 4.0 ให้ความสำคัญในด้านของการนำ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารจัดการแรงงานและเพิ่มศักยภาพฝีมือแรงงานเข้าสู่ มาตรฐานสากล 5. กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560 – 2579) โดยกระทรวงแรงงานได้จัดทำกรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) ที่เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 12 โดยกำหนดวิสัยทัศน์ในอีก 20 ปีข้างหน้า คือทรัพยากรมนุษย์มีคุณค่าสูงสู่ความ ยั่งยืน แบ่งการดำเนินการเพื่อบรรลุวิสัยทัศน์เป็น 4 ช่วง ๆ ละ 5 ปี ดังต่อไปนี้ 4.1 ช่วงที่ 1 Productive Manpower (พ.ศ.2560 – 2564) ช่ วงที่ 1 Productive Manpower (พ. ศ. 2560 – 2564) เป็ นช่ วงของการ วางรากฐานด้านแรงงานให้เป็นมาตรฐานสากล เป็นยุคของรากฐานดานแรงงานที่เป็นมาตรฐานสากล โดยการขจัดอุปสรรคดานแรงงานใน การพัฒนาประเทศ จัดระเบียบแรงงานตางดาว ( Zoning ) เร่ง พัฒนามาตรฐานการดำเนินงานด้านแรงงานให้เป็นสากล มุ่งเน้นให้แรงงานทุกคนได้รับการคุมครอง ทางสังคมและมีความปลอดภัย เดินหน้าขับเคลื่อนแผนการใช้ทรัพยากรมนุษย์ในการพัฒนาประเทศ เพื่อเตรียมความพร้อมของทรัพยากรมนุษย์ทั้งดานปริมาณ และคุณภาพ เร่งรัดการรับมือกับปัญหา การขาดแคลนแรงงาน รวมถึงส่งเสริมให้แรงงานไทยเป็นหัวหน้างาน มีทักษะที่หลากหลาย ( multi - skilled ) เติมทักษะใหม่ด้วยการ re - skill และเติมทักษะด้าน STEM ให้แก่แรงงานเพื่อให้เกิดการ เปลี่ ยนผ่านในโลกของการทำงานที่ ราบรื่ น ( smooth transition ) ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับการพัฒนาเศรษฐกิจในระยะถัดไป และพร้อมเผชิญต่อความท้าทายที่จะเกิดขึ้นใน อนาคตเพื่อรองรับการพัฒนาแรงงานให้มีทักษะการเป็นแรงงานในยุค Thailand 4.0 ผลสัมฤทธิ์ที่ คาดว่าจะได้รับมี 2 มิติ คือ มิติคน : แรงงานไทยมีผลิตภาพสูง มีทักษะที่หลากหลาย ( multi - skilled ) มีทักษะ ใหม่ ( re - skilled ) มีทักษะด้าน STEM สามารถทำงานในยุคเริ่มตนของการเข้าสู่ Thailand 4.0 ได้ อย่างราบรื่น มิติมาตรฐานการขับเคลื่อนวงจรแรงงาน : มีมาตรฐานอาชีพตามกรอบคุณวุฒิวิชา วิชีพแห่งชาติ 8 ระดับที่ เชื่ อมโยงกับมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติครบทุกสาขาอาชีพตาม อุตสาหกรรมแห่งอนาคต ( New Engine of Growth ) 4.2 ช่วงที่ 2 Innovative Workforce (พ.ศ.2565 – 2569) ช่วงที่ 2 Innovative Workforce (พ.ศ.2565 – 2569) เป็นช่วงของการสร้าง ทรัพยากรมนุษย์ให้เป็นประชากรของโลก ( Global Citizen ) เป็นยุคของทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ ที่เป็นประชาชนของโลก ( Global Citizen ) เพื่อให้แรงงานสามารถนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ ในการเพิ่ มผลิตภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพรองรับต่อ Thailand 4 . 0 อย่างเต็มรูปแบบ และ

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==