รายงานการศึกษาค่าคาดการณ์อัตราการว่างงานของประเทศไทย

36 บทที่ 3 วิธีการศึกษา 3.1 ข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์ แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์ แหล่งข้อมูลที่ ใช้สำหรับการพยากรณ์ได้จากข้อมูลจากการสำรวจภาวะการทำงานของ ประชากร สำนักงานสถิติแห่งชาติ ซึ่งเป็นข้อมูลจำนวนผู้ว่างงาน กำลังแรงงานรวม และอัตราการ ว่างงาน นอกจากนี้ ยังมีการใช้ข้อมูลทางเศรษฐกิจและสังคมอื่น ๆ ในแบบจำลอง ได้แก่ GDP และ การเกิดสถานการณ์โควิด-19 รายละเอียดดังตาราง ข้อมูล แหล่งข้อมูล ปี / หมายเหตุ จำนวนผู้ว่างงาน สำรวจภาวะการทำงาน ของประชากร สำนักงานสถิติแห่งชาติ รายเดือน ปี 254 5 -2565 จำนวน 237 เดือน ( เริ่ม สำรวจรายเดือนในปี 2545) รายไตรมาส ปี 2544-2565 จำนวน 88 ไตรมาส รายปี ปี 2544-2565 จำนวน 22 ปี จำนวนกำลัง แรงงานรวม สำรวจภาวะการทำงาน ของประชากร สำนักงานสถิติแห่งชาติ รายเดือน ปี 254 5 -2565 จำนวน 237 เดือน ( เริ่ม สำรวจรายเดือนในปี 2545) รายไตรมาส ปี 2544-2565 จำนวน 88 ไตรมาส รายปี ปี 2544-2565 จำนวน 22 ปี อัตราการว่างงาน สำรวจภาวะการทำงาน ของประชากร สำนักงานสถิติแห่งชาติ รายเดือน ปี 254 5 -2565 จำนวน 237 เดือน รายไตรมาส ปี 2544-2565 จำนวน 88 ไตรมาส รายปี ปี 2544-2565 จำนวน 22 ปี มูลค่า GDP (constant price) สำนักงานสภา พัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ปี 2544-2565 Real GDP Growth (Forecast) IMF ปี 2566-2570 ( แปลงข้อมูลให้เป็นหน่วยเดียวกัน ) สถานการณ์โควิด ประกาศสถานการณ์โค วิด ศบค. ไม่มีสถาการณ์โควิด ( ปี 2544-2562) มีสถานการณ์โค วิด ( ปี 2563-2564)

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==