รายงานการศึกษาค่าคาดการณ์อัตราการว่างงานของประเทศไทย

37 การตรวจสอบข้อมูล การตรวจสอบข้อมูลจากในอดีตถึงปัจจุบัน เพื่อพิจารณาความผิดปกติของข้อมูลและรูปแบบ ของข้อมูล โดยทำการนำข้อมูลจำนวนผู้ว่างงานรายไตรมาสรายปี มา plot กราฟ เป็นดังนี้ จากการตรวจสอบข้อมูลจำนวนผู้ว่างงานจากตั้งแต่ปี 2545 – 2565 พบว่ารูปแบบของข้อมูล อยู่ในรูปแบบ U-shape ซึ่งไม่มีลักษณะที่เป็น linear ทำให้เทคนิคการพยากรณ์บางวิธีไม่สามารถ นำมาใช้ในการวิเคราะห์ครั้งนี้ได้ เช่น การวิเคราะห์ข้อมูลอนุกรมเวลาด้วยวิธีกำลังสองน้อยที่สุด สำหรับวิธีการศึกษาในครั้งนี้ ใช้วิธีการพยากรณ์ 2 ประเภทด้วยกัน คือ การพยากรณ์ที่ใช้ข้อมูลจาก อดีต กับการพยากรณ์ที่ใช้ตัวแปรภายนอก ( extraneous variable) เข้ามาร่วมอธิบายด้วย เนื่องจาก ผลจากงานวิจัยหลายฉบับ ยืนยันว่า การว่างงานมีเหตุผลจากปัจจัยทางเศรษฐกิจและปัจจัยอื่น เกี่ยวข้องด้วย 0 200000 400000 600000 800000 1000000 1200000 1400000 1600000 1800000 2001 Q1 2001 Q4 2002 Q3 2003 Q2 2004 Q1 2004 Q4 2005 Q3 2006 Q2 2007 Q1 2007 Q4 2008 Q3 2009 Q2 2010 Q1 2010 Q4 2011 Q3 2012 Q2 2013 Q1 2013 Q4 2014 Q3 2015 Q2 2016 Q1 2016 Q4 2017 Q3 2018 Q2 2019 Q1 2019 Q4 2020 Q3 2021 Q2 2022 Q1 2022 Q4 จํานวนผู้ว่างงาน รายไตรมาส 0 200000 400000 600000 800000 1000000 1200000 2001 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 2011 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022 จํานวนผู้ว่างงาน รายปี

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==