รายงานการศึกษาค่าคาดการณ์อัตราการว่างงานของประเทศไทย

52 d ) ARIMAX - covid e ) ARIMAX - GDP f ) ARIMAX – covid + GDP จากรูป a) ถึง f) เป็นการพยากรณ์ที่ได้จากการใช้ข้อมูล Training data ( ข้อมูลในช่วง 2544- 2563) ในการพยากรณ์ข้อมูลออกไป 2 ปี เพื่อเทียบกับข้อมูลจริงในปี 2564 -2565 (Test set) โดย กราฟสีน้ำเงิน คือ กราฟของข้อมูลจริงที่ได้จากการสำรวจภาวะการทำงานของประชากร สำนักงาน สถิติแห่งชาติ เส้นสีเขียว คือ ข้อมูลการพยากรณ์ที่ได้จากแบบจำลอง สำหรับการพิจารณาเลือก แบบจำลอง ทำได้โดยเปรียบเทียบข้อมูลจริงที่เกิดขึ้นกับค่าพยากรณ์ที่ได้ หรือเปรียบเทียบกราฟเส้นสี น้ำเงินและกราฟเส้นสีเขียว ซึ่งเกณฑ์การพิจารณาแบบจำลองดังที่กล่าวไปแล้วในหัวข้อ 3.3 คือการ เปรียบเทียบค่า RMSE และ MAPE ที่น้อยที่สุดของข้อมูลในชุด Test set (Forecast Error/ Out of Sample Error) พบว่าแบบจำลอง ARIMAX ( 2,2,0 ) ที่มีการใส่ตัวแปรอธิบายทั้ง Covid และ GDP ให้ ค่า Forecast Error ต่ำที่สุดดังตาราง ดังนั้น จึงเลือกแบบจำลองนี้ในการพยากรณ์ข้อมูลอัตราการ ว่างงาน เมื่อได้แบบจำลองที่ให้ค่า Forecast Error ต่ำที่สุดแล้ว จึงนำแบบจำลองดังกล่าวไปใช้กับ ข้อมูลทั้งชุด ( ข้อมูลปี 2544-2565) และพยากรณ์ข้อมูลออกไปจำนวน 5 ปี ซึ่งให้ผลการพยากรณ์ดัง ตารางด้านล่าง ในช่องของการพยากรณ์โดยใช้อัตราการว่างงาน จำนวนผู้ว่างงาน ( A ) กำลังแรงงานรวม ( B ) อัตราการว่างงาน ช่วงการ พยากรณ์ ปี ค่าพยากรณ์ ค่าพยากรณ์ ( A / B )* 100 พยากรณ์ โดยใช้อัตรา ARIMA ( 2,0,0 ) ARIMA ( 3,0,0 ) 2 566 486,838 40,327,749 1 . 21 1 . 11 1 . 11 - 1 . 21 2 567 428,844 41,081,493 1 . 04 1 . 13 1 . 04 - 1 . 13 2 568 376,826 41,245,540 0 . 91 1 . 13 0 . 91 - 1 . 13 2 569 336,586 41,460,920 0 . 81 0 . 99 0 . 81 - 0 . 99 2 570 307,549 41,361,293 0 . 74 0 . 89 0 . 74 - 0 . 89

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==