รายงานการศึกษาค่าคาดการณ์อัตราการว่างงานของประเทศไทย
57 4.3 การพยากรณ์อัตราการว่างงาน โดยใช้ข้อมูลรายเดือน ขั้นตอนที่ 1 เนื่องจากสถานการณ์โควิด- 19 ทำให้ไม่มีการเข้าไปสำรวจภาวะการงานของ ประชากร จึงต้องประมาณค่าสูญหายจำนวนผู้ว่างงานและจำนวนกำลังแรงงานรวม ในเดือนเมษายน – มิ ถุ นายน พ.ศ. 2563 และเดื อนมกราคม – ธั นวาคม พ.ศ. 2564 ด้ วยวิ ธี Seasonally Decomposed Missing Value Imputation และวิ ธี Exponential Weighted Moving Average หลังจากนั้นนำค่าที่ได้จากการประมาณทั้ง 2 วิธี มาเฉลี่ยเป็นรายไตรมาส เพื่อเปรียบเทียบกับค่าจริง รายไตรมาสที่สำนักงานสถิติแห่งชาติเผยแพร่ แล้วเลือกค่าที่ได้จากการประมาณวิธีที่ใกล้เคียงกับค่า จริงมากที่สุด โดยพิจารณาจากค่าความคลาดเคลื่อนที่ต่ำที่สุด ( RMSE และ MAPE ) ซึ่งจะได้ผลดัง ตาราง ตารางที่ 1 จำนวนผู้ว่างงานที่ได้จากการประมาณค่าสูญหายในเดือนเมษายน – มิถุนายน พ.ศ. 2563 และเดือนมกราคม – ธันวาคม พ.ศ. 2564 (หน่วย: คน) ปี เดือน จำนวนผู้ว่างงานที่ได้จากการ ประมาณฯ ด้วยวิธี Seasonally Decomposed Missing Value Imputation จำนวนผู้ว่างงานที่ได้จากการ ประมาณฯ ด้วยวิธี Exponential Weighted Moving Average 2563 เมษายน 498,201 465 , 329 2563 พฤษภาคม 651,949 591 , 156 2563 มิถุนายน 714,287 719 , 024 ... ... ... 2564 มกราคม 670,702 677 , 713 2564 กุมภาพันธ์ 647,886 676 , 621 2564 มีนาคม 667,354 654 , 360 2564 เมษายน 679,858 654 , 360 2564 พฤษภาคม 739,547 654 , 360 2564 มิถุนายน 707,072 681 , 995 2564 กรกฎาคม 726,714 671 , 215 2564 สิงหาคม 716,246 698 , 400 2564 กันยายน 717,921 698 , 400 2564 ตุลาคม 760,546 698 , 400 2564 พฤศจิกายน 742,751 668 , 586 2564 ธันวาคม 686,696 657 , 740
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==