รายงานประจำปี 2566
72 รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสถิิติิแห่่งชาติิ กา ำ ว ภาวะเศ ษฐกิ แ ะสััง มของั วเรืือ พ.ศ. 2565 สำนัักงา สถิิติิแห่่งชาติิ ได้้จั ำกา สำ จภา ะ เศ ษฐกิจและสัง ม อง รัั เรืือน ปีี 2565 เพ่� อเก็บรว บรว ม ข้้อมูลเก่� ยวกัับโคร งสร้้างสมาชิกในค รัั เรืือน ค่ าใช้จ่าย ลักษณะที่� อยู่อาศัย ลอ จ กา ได้้รัับสวััสดิิกา / ามช่ ยเหลืือ จากรััฐ และใช้บริิกา องภา รััฐ โ ย ำกา เก็บ บ ม ข้้อมูลทุุกเดืือ (มก า ม - ธั า ม 2565) จาก รัั เรืือ ตัั อย่างใุ กจัง วััด ทั้้� งใ เ และ อกเ เ ศบาล ทั้้� งนี้� ค่่าใช้้จ่าย องครัั เรือ ที่่� ำเ อใ การ ำร จนี้� เป็ ค่่าใช้้จ่ายเฉล่� ยที่่� จำเป็นต้้องใช้้ใ การยังชีีพเ่ านั้� ไม่ร มการ ะ มุ เช่่ ซื� อบ้า /ที่่� ดิิ และเงิ ออม ซึ่่� งสรุุปผลกา สำ จที่� สำคััญ ได้้ดัังนี้� 1. ค่่าใช้้จ่ายเฉล่� ยต่อเดืือ องครัั เรือ รัั เรืือนทั่่� ป ะเ ศ ในปีี 2565 มีีค่าใช้จ่ายทั้� งสิ� เฉล่� ยเดืือ ละ 22,372 บา โ ยเป็่ าใช้จ่ายเพ่� อกา อุปโภ บริิโภ้ อยละ 87.3 องค่่าใช้จ่ายทั้� งสิ� เฉล่� ยต่่อ เดืือน และเป็นค่ าใช้จ่ายที่� ไม่เก่� ยวกัับการอุุปโภ บริิโภค (เช่น ค่ าภาษีี ของ วััญ อกเบี� ย เบี� ยป ะกันภััยซื้้� อสลากกิ แบ่ง/ หว ย) ร้้อยละ 12.7 และเม่� อพิจา ณาในร ายละเอีย องค่่าใช้จ่ายเพ่� อการอุุปโภ บริิโภ พบว่่า เป็่ าใช้จ่าย ม อา า เครื่่� องดื่� ม และยาสูบสูงที่� สุ (ร้้อยละ 35.8) องลงมาเป็นค่ าที่� อยู่อาศัยและเครื่่� องใช้ภายในบ้้า และค่่าใช้จ่ายเก่� ยวกัับยา พา ะและกา เดิิ าง ซึ่่� งคิิ เป็ ร้้อยละ 20.7 และร้้อยละ 17.2 ามลำดัับ แู มิ 1 ค่่าใช้จ่ายทั้� งสิ� เฉล่� ยต่่อเดืือ อง รัั เรืือน จำแ ก าม ม่ าใช้จ่าย ปี 2565 ค่่าใช้้จ่ายอุปโภ บริโภ แบ่งตามหม่ าใช้้จ่าย 2. แ โน้้มค่่าใช้้จ่ายเฉล่� ยต่อเดืือ องครัั เรือ ในปีี 2565 รัั เรืือนทั่่� ป ะเ ศ มีีค่าใช้จ่ายทั้� งสิ� เฉล่� ยเดืือ ละ 22,372 บา โ ยค่่าใช้จ่ายที่� เพิ� มขึ้� เป็ ค่่าใช้จ่ายอุปโภ บริิโภคที่่� รัั เรืือนซื้้� อหรืือจ่ายเงิ เองเพิ� มขึ้� น จาก 14,339 บา ในปีี 2564 เป็ 15,734 บา ในปีี 2565 ณะที่� ค่่าใช้จ่ายอุปโภ บริิโภ ในส่่่ � รัั เรืือ ไม่ได้้ซื้้� อ หรืือจ่ายด้้ ยเงิ องตัั เอง ล ลงจาก 4,464 บา ในปีี 2564 เป็ 3,796 บาท ในปีี 2565 เนื่� องจากในปีี 2565 ไม่มีมา การช่่ ยเหลืือบางโ งการที่่� ภา รััฐเ ยมีกา ช่ ยเหลืือป ะชาช ในปีี 2564 เพ่� อล ผลก ะ บจาก ส า การณ์์กา แพร่่ ะบา องโ โิ -19 เช่ โ งกา เ าช ะ โ งการยิ่� งใช้ยิ� งได้้ เป็้ แู มิ 2 ค่่าใช้จ่ายทั้� งสิ� เฉล่� ยต่่อเดืือ อง รัั เรืือ จำแ ก ามลักษณะค่่าใช้จ่าย ปี 2560 - 2565 สำนักงานสถิติแห่งชาติ ได้จัดทำการสำรวจภาวะ เศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน ปี 2565 เพื่อเก็ รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับโครงสร้างสมาชิกในครัวเรือน ค่าใช้จ่าย ลักษณะที่อยู่อาศัย ตลอดจนการได้รับ สวัสดิการ/ความช่วยเหลือจากรัฐ และใช้บริการ ของภาครัฐ โดยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลทุกเดือน (มกราคม - ธันวาคม 2565) จากครัวเรือนตัวอย่าง ในทุกจังหวัด ทั้งในเขตและนอกเขตเทศบาล ทั้งนี้ ค่าใช้จ่ายของครัวเรือนที่นำเสนอในการสำรวจนี้ เป็นค่าใช้จ่ายเฉลี่ยที่จำเป็นต้องใช้ในการยังชีพ เท่านั้น ไม่รวมการสะสมทุน เช่น ซื้อบ้าน/ที่ดิน และเงินออม ซึ่งสรุปผลการสำรวจที่สำคัญ ได้ดังนี้ ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน ครัวเรือนทั่วประเทศ ในปี 2565 มีค่าใช้จ่าย ทั้งสิ้นเฉลี่ยเดือนละ 22 ,372 บาท โดยเป็นค่าใช้จ่าย เพื่อการอุปโภคบริโภคร้อยละ 87.3 ของค่าใช้จ่าย ทั้งสิ้นเฉลี่ยต่อเดือน และเป็นค่าใช้จ่ายที่ไม่เกี่ยวกับ การอุปโภคบริโภค (เช่น ค่าภาษี ของขวัญ ดอกเบี้ย เบี้ยประกันภัย ซื้อสลากกินแบ่ง/หวย) ร้อยละ 12.7 และเมื่ อพิจารณาในรายละเอียดของค่าใช้จ่ าย เพื่อการอุปโภคบริโภค พบว่า เป็นค่าใช้จ่ายหมวด อาหาร เครื่องดื่ม และยาสูบสูงที่สุด (ร้อยละ 35.8) รองลงมาเป็นค่าที่อยู่อาศัยและเครื่องใช้ภายในบ้าน และค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับยานพาหนะและการเดินทาง ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 20. 7 และร้อยละ 17.2 ตามลำดับ แผนภูมิ 1 ค่าใช้จ่ายทั้งสิ้นเฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน จำแนกตามหมวดค่าใช้จ่าย ปี 2565 ค่าใช้จ่ายอุปโภคบริโภค บ่ง วดค่าใช้จ่าย แนวโน้มค่าใช้จ่า เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน ในปี 2 65 ครัวเรือนทั่วประเทศ มีค่าใช้จ่าย ทั้งสิ้นเฉี่ ยเดือนละ 22 , 372 บาท โดยค่าใช้จ่ายที่ เพิ่มขึ้นเป็นค่าใช้จ่ายอุปโภคบริโภคที่ครัวเรือนซื้อ หรือจ่ายเงินเองเพิ่มขึ้น จาก 14,339 บาท ในปี 2564 เป็น 15,734 บาท ในปี 2565 ขณะที่ค่าใช้จ่าย อุปโภคบริโภคในส่วนที่ครัวเรือนไม่ได้ซื้อหรือจ่าย ด้วยเงินของตัวเอง ลดลงจาก 4,464 บาท ในปี 2564 เป็น 3,796 บาท ในปี 2565 เนื่องจากในปี 2565 ไม่มีมาตรการช่วยเหลือบางโครงการที่ ภาครัฐ เคยมีการช่วยเหลือประชาชนในปี 2564 เพื่อลด ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคโควิด - 19 เช่น โครงการเราชนะ โครงการยิ่งใช้ ยิ่งได้ เป็นต้น แผนภูมิ 2 ค่าใช้จ่ายทั้งสิ้นเฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน จำแนกตามลักษณะค่าใช้จ่าย ปี 2560 - 2565 87.3 % 12 .7 % 22,372 บาท ค่าใช้จ่าย อุปโภคบริโภค 19 ,530 บาท ค่าใช้จ่ายที่ ไม่เกี่ยวกับ การอุปโภคบริโภค 2 , 842 บาท การสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน พ.ศ. 2565 อาหาร เครื่องดื่ม ยาสูบ 8,011 บาท (35.8%) ที่อยู่อาศัย/เครื่องใช้ 4,634 บาท (20.7%) ยานพาหนะ/เดินทาง 3,839 บาท (17.2%) ของใช้ส่วนบุคคล/เสื้อผ้า รองเท้า 1,100 บาท (4.9%) การสื่อสาร 861 บาท (3.8%) เวชภัณฑ์/ค่ารักษา 347 บาท (1.6%) การศึกษา 302 บาท (1.3%) บันเทิง/จัดงานพิธี 236 บาท (1.1%) กิจกรรมทางศาสนา 200 บาท (0.9%) 2,842 2,814 2,769 2,797 2,860 2,794 15,734 14,339 15,027 14,486 15,047 15,128 3,796 4,464 3,533 3,460 3,439 3,514 12.7 13.0 13.0 13.5 13.4 13.0 70.3 66.3 70.5 69 .8 70.5 70.6 16.4 16.1 16.7 16.5 20.7 17.0 2565 2564 2563 2562 2561 2560 22,372 2 1 ,616 2 1 ,329 20,742 2 1 ,346 2 1 ,437 ค่าใช้จ่ายที่ไม่เกี่ยวกับการอุปโภคบริโภค ค่าใช้จ่ายอุปโภคบริโภค (ที่ซื้อหรือจ่ายเงินเอง) ค่าใช้จ่ายอุปโภคบริโภค (ที่ไม่ได้ซื้อหรือจ่ายด้วยเงินตนเอง) 1. 2 . 72 สำนักงานสถิติแห่งชาติ ได้จัดทำการสำรวจภาวะ เศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน ปี 2565 เพื่อเก็บ รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับโครงสร้างสมาชิกในครัวเรือน ค่าใช้จ่าย ลักษณะที่อยู่อาศัย ตลอดจนการได้รับ สวัสดิการ/ความช่วยเหลือจากรัฐ และใช้บริการ ของภาครัฐ โดยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลทุกเดือน (มกราคม - ธันวาคม 2565) จากครัวเรือนตัวอย่าง ในทุกจังหวัด ทั้งในเขตและนอกเขตเทศบาล ทั้งนี้ ค่าใช้จ่ายของครัวเรือนที่นำเสนอในการสำรวจนี้ เป็นค่าใช้จ่ายเฉลี่ยที่จำเป็นต้องใช้ในการยังชีพ เท่านั้น ไม่รวมการสะสมทุน เช่น ซื้อบ้าน/ที่ดิน และเงินออม ซึ่งสรุปผลการสำรวจที่สำคัญ ได้ดังนี้ ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน ครัวเรือนทั่วประเทศ ในปี 2565 มีค่าใช้จ่าย ทั้งสิ้นเฉลี่ยเดือนละ 22 ,372 บาท โดยเป็นค่าใช้จ่าย เพื่อการอุปโภคบริโภคร้อยละ 87.3 ของค่าใช้จ่าย ทั้งสิ้นเฉลี่ยต่อเดือน และเป็นค่าใช้จ่ายที่ไม่เกี่ยวกับ การอุปโภคบริโภค (เช่น ค่าภาษี ของขวัญ ดอกเบี้ย เบี้ยประกันภัย ซื้อสลากกินแบ่ง/หวย) ร้อยละ 12.7 และเมื่ อพิจารณาในรายละเอียดของค่าใช้จ่ าย เพื่อการอุปโภคบริโภค พบว่า เป็นค่าใช้จ่ายหมวด อาหาร เครื่องดื่ม และยาสูบสูงที่สุด (ร้อยละ 35.8) รองลงมาเป็นค่าที่อยู่อาศัยและเครื่องใช้ภายในบ้าน และค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับยานพาหนะและการเดินทาง ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 20. 7 และร้อยละ 17.2 ตามลำดับ แผนภูมิ 1 ค่าใช้จ่ายทั้งสิ้นเฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน จำแนกตามหมวดค่าใ้ จ่าย ี2565 ค่าใช้จ่ายอุปโภคบริโภค แบ่งตามหมวดค่าใช้จ่าย แนวโน้มค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน ใ ปี 2565 ครัวเรือนทั่วประเทศ มีค่าใช้จ่าย ทั้งสิ้นเฉลี่ยเดือนละ 22 , 372 บาท โดยค่าใช้จ่ายที่ เพิ่มขึ้นเป็นค่าใช้จ่ายอุปโภคบริโภคที่ครัวเรือนซื้อ หรือจ่ายเงินเองเพิ่มขึ้น จาก 14,339 บาท ในปี 2564 เป็น 15,734 บาท ในปี 2565 ขณะที่ค่าใช้จ่าย อุปโภคบริโภคในส่วนที่ครัวเรือนไม่ได้ซื้อหรือจ่าย ด้วยเงินของตัวเอง ลดลงจาก 4,464 บาท ในปี 2564 เป็น 3,796 บาท ในปี 2565 เนื่องจากในปี 2565 ไม่มีมาตรการช่วยเหลือบางโครงการที่ ภาครัฐ เคยมีการช่วยเหลือประชาชนในปี 2564 เพื่อลด ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคโควิด - 19 เช่น โครงการเราชนะ โครงการยิ่งใช้ ยิ่งได้ เป็นต้น แผนภูมิ 2 ค่าใช้จ่ายทั้งสิ้นเฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน จำแนกตามลักษณะค่าใช้จ่าย ปี 2560 - 2565 87.3 % 12 .7 % 22,372 บาท ค่าใช้จ่าย อุปโภคบริโภค 19 ,530 บาท ค่าใช้จ่ายที่ ไม่เกี่ยวกับ การอุปโภคบริโภค 2 , 842 บาท การสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน พ.ศ. 2565 อาหาร เครื่องดื่ม ยาสูบ 8,011 บาท (35.8%) ที่อยู่อาศัย/เครื่องใช้ 4,634 บาท (20.7%) ยานพาหนะ/เดินทาง 3,839 บาท (17.2%) ของใช้ส่วนบุคคล/เสื้อผ้า รองเท้า 1,100 บาท (4.9%) การสื่อสาร 861 บาท (3.8%) เวชภัณฑ์/ค่ารักษา 347 บาท (1.6%) การศึกษา 302 บาท (1.3%) บันเทิง/จัดงานพิธี 236 บาท (1.1%) กิจกรรมทางศาสนา 200 บาท (0.9%) 2,842 2,814 2,769 2,797 2,860 2,794 15,734 14,339 15,027 14,486 15,047 15,128 3,796 4,464 3,533 3,460 3,439 ,514 12.7 13.0 13.0 13.5 13.4 13.0 70.3 66. 70.5 69 .8 70.5 70.6 6.4 16.1 16.7 16.5 20.7 17.0 2565 2 64 2563 2562 2561 2560 22,372 1 ,616 2 1 ,329 20,742 2 1 ,346 2 1 ,437 ค่าใช้จ่ายที่ไม่เกี่ยวกับการอุปโภคบริโภค ค่าใช้จ่ายอุปโภคบริโภค (ที่ซื้อหรือจ่ายเงินเอง) ค่าใช้จ่ายอุปโภคบริโภค (ที่ไม่ได้ซื้อหรือจ่ายด้วยเงินตนเอง) 1. 2 . 72 สำนักงานสถิติแห่งชาติ ได้จัดทำการสำรวจภาวะ เศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน ปี 2565 เพื่อเก็บ รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับโครงสร้างสมาชิกในครัวเรือน ค่าใช้จ่าย ลักษณะที่อยู่อาศัย ตลอดจนการได้รับ สวัสดิการ/ความช่วยเหลือจากรัฐ และใช้บริการ ของภาครัฐ โดยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลทุกเดือน (มกราคม - ธันวาคม 2565) จากครัวเรือนตัวอย่าง ในทุกจังหวัด ทั้งในเขตและนอกเขตเทศบาล ทั้งนี้ ค่าใช้จ่ายของครัวเรือนที่นำเสนอในการสำรวจนี้ เป็นค่าใช้จ่ายเฉลี่ยที่จำเป็นต้องใช้ในการยังชีพ เท่านั้น ไม่รวมการสะสมทุน เช่น ซื้อบ้าน/ที่ดิน และเงินออม ซึ่งสรุปผลการสำรวจที่สำคัญ ได้ดั นี้ ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน ครัวเรือนทั่วประเทศ ในปี 2565 มีค่าใช้จ่าย ทั้งสิ้นเฉลี่ยเดือนละ 22 ,372 บาท โดยเป็นค่าใช้จ่าย เพื่อการอุปโภคบริโภคร้อยละ 87.3 ของค่าใช้จ่าย ทั้งสิ้นเฉลี่ยต่อเดือน และเป็นค่าใช้จ่ายที่ไม่เกี่ยวกับ การอุปโภคบริโภค (เช่น ค่าภาษี ของขวัญ ดอกเี้ ย เบี้ยประกันภัย ซื้อสลากกินแบ่ง/หวย) ร้อยละ 12.7 และเมื่ อพิจารณาในรายละเอียดของค่าใช้จ่ าย เพื่อการอุปโภคบริโภค พบว่า เป็นค่าใช้จ่ายหมวด อาหาร เครื่องดื่ม และยาสูบสูงที่สุด (ร้อยละ 35.8) รองลงมาเป็นค่าที่อยู่อาศัยและเครื่องใช้ภายในบ้าน แล ค่ ใ้ จ่ายเกี่ยวกับยานพาหน และการเดินทาง ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 20. 7 และร้อยละ 17.2 ตามลำดับ แผนภูมิ 1 ค่าใช้จ่ายทั้งสิ้นเฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน จำแนกตามหมวดค่าใช้จ่าย ปี 256 ค่าใช้จ่ายอุปโภคบริโภค แบ่งตามหมวดค่าใช้จ่าย แนวโน้มค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน ในปี 2565 ครัวเรือนทั่วประเทศ มีค่าใช้จ่าย ทั้งสิ้นเฉลี่ยเดือนละ 22 , 372 บาท โดยค่าใช้จ่ายที่ เพิ่มขึ้นเป็นค่าใช้จ่ายอุปโภคบริโภคที่ครัวเรือนซื้อ หรือจ่ายเงินเองเพิ่มขึ้น จาก 14,339 บาท ในปี 2564 เป็น 15,734 บาท ในปี 2565 ขณะที่ค่าใช้จ่าย อุปโภคบริโภคในส่วนที่ครัวเรือนไม่ได้ซื้อหรือจ่าย ด้วยเงินของตัวเอง ลดลงจาก 4,464 บาท ในปี 2564 เป็น 3,796 บาท ในปี 2565 เนื่องจากในปี 2565 ไม่ี มาตรการช่วยเหลือบางโครงการที่ ภาครัฐ เคยมีการช่วยเหลือประชาชนในปี 2564 เพื่อลด ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคโควิด - 19 เช่น โครงการเราชนะ โครงการยิ่งใช้ ยิ่งได้ เป็นต้น แผนภูมิ 2 ค่าใช้จ่ายทั้งสิ้นเฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน จำแนกตามลักษณะค่าใช้จ่าย ปี 2560 - 256 87.3 % 12 .7 % 22,372 บาท ค่าใช้จ่าย อุปโภคบริโภค 19 ,530 บาท ค่าใช้จ่ายที่ ไม่เกี่ยวกับ การอุปโภคบริโภค 2 , 842 บาท การสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน พ.ศ. 2565 อาหาร เครื่องดื่ม ยาสูบ 8,011 บาท (35.8%) ที่อยู่อาศัย/เครื่องใช้ 4,634 บาท (20.7%) ยานพาหนะ/เดินทาง 3,839 บาท (17.2%) ของใช้ส่วนบุคคล/เสื้อผ้า รองเท้า 1,100 บาท (4.9%) การสื่อสาร 861 บาท (3.8%) เวชภัณฑ์/ค่ารักษา 347 บาท (1.6%) การศึกษา 302 บาท (1.3%) บันเทิง/จัดงานพิธี 236 บาท (1.1%) กิจกรรมทางศาสนา 200 บาท (0.9%) 2,842 14 769 97 860 ,794 15,734 14,339 15,027 4 486 5,047 ,128 3,796 4,464 3,533 3,460 3,439 ,514 12.7 3.0 .0 .5 .4 .0 70.3 66.3 70.5 69 .8 70.5 70.6 .4 16.1 16.7 16.5 20. 17.0 2565 4 3 2 1 2560 22,372 2 1 ,616 2 1 ,329 20,74 2 1 ,346 437 ค่าใช้จ่ายที่ไม่เกี่ยวกับการอุปโภคบริโภค ค่าใช้จ่ายอุปโภคบริโภค (ที่ซื้อหรือจ่ายเงินเอง) ่ า้ จ่า อุปโภคบริโภค (ที่ไม่ได้ซื้อหรือจ่ายด้วยเงินตนเอง) 1. 2 . 72
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==