รายงานประจำปี 2566

80 รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสถิิติิแห่่งชาติิ ำ วจข้้อมู า ภาพการรู้้� เ่ าั นสื่่� อแ ะ า เ ศของ ะเ ศไ ย พ.ศ. 2566 ามก้า้ า างเ โ โลยีีดิจิทััล ามพร้้อม อง โคร งสร้้างพื� ฐานท างดิิจิทััล องป ะเ ศที่� มีคุุณภาพและ ม าม อบคลุุมพื� นที่่� ทั่� ป ะเ ศ ลอ จ า าโั พท์์ มือถืือและเครื่่� อง อมพิ เ อร์์ที่� มีแ โน้้มล ลงอย่าง ต่่อเนื่� อง ำให้้ป ะชาชนส่่ ใหญ่่สามา เข้้าถึึงเ โ โลยี ดิิจิทััลได้้ง่าย ส่งผลให้้ภา รััฐให้้ ามสำคััญกับการพััฒ า กำลัง ให้้สามา ำดิิจิทััลมาใช้ป ะโยชน์์ใ ลาก ลาย ภาคส่่ และ ลาก ลายมิติิ มถึึงให้้ม าม อบรู้้ด้้า ดิิจิทััล ามสามา ใ กา รัับมือกับข้้อมูลข่่า สารที่่� ผิ พลา และการรู้้� เท่่าทัันสื่� อ ด้้ ยภารกิิจ องสำนัักงา ณะก มกาิ จิทััลเพ่� อ เศ ษฐกิจและสัง มแห่่งชาติิ (ส ช. ) ใ กา สำ จ เก็บ บ มข้้อมูล ติิ าม ามเคลื่� อ ไ องส า การณ์์ ด้้า การพััฒ าดิิจิทััลเพ่� อเศ ษฐกิจและสัง ม จึงเล็งเห็็ ามสำคััญและได้้เริ่� ม ำเนิิ กา สำ จข้้อมูลส า ภาพการรู้้� เท่่าทัันสื่� อและสา ส เ ศ องป ะเ ศไ ย ในปีี พ.ศ. 2561 และ 2563 ามลำดัับ โ ยในปีี พ.ศ. 2566 นัับเป็นครั้้� งแ ก อง ามร่่ มมือสำ จ ะ่ าง ส ช. กับสำนัักงา สถิิติิ แห่่งชาติิ (สสช.) ก ะ งดิิจิทััลเพ่� อเศ ษฐกิจและสัง ม โ ยมีวััุ ป ะสงค์์เพ่� อ ำเส อข้้อมูลส า ภาพการรู้้� เท่่าทัั ส่� อและสา ส เ ศ และส า ภาพกา เข้้าใจดิิจิทััล อง ป ะเ ศไ ย ทั้� งในร ะดัับป ะเ ศ ะดัับภาค และ ะดัับ จัง วัั และสามา ใช้เป็ ข้้อมูลป ะกอบกาั ดสิิ ใจและ กำหนดน โยบายเพ่� อให้้คน ไ ยได้้รัับการพััฒ าให้้มีีักยภาพ ใ กาิ ด วิ เ าะห์์ สามา “รู้้�รัับ ปรัับใช้” เ โ โลยี ดิิจิทััลใหม่่ ๆ ได้้อย่างมีป ะสิทธิิภาพ เท่่าเทีียมกั โ ยไม่มีใ ถููกทิ้� งไว้้ข้้างหลััง กา สำ จข้้อมูลส า ภาพการรู้้� เท่่าทัันสื่� อและ สา ส เ ศ (Media and Information Literacy: MIL) และส า ภาพกา เข้้าใจดิิจิทััล (Digital Literacy: DL) อง ป ะเ ศไ ย ในปีี พ.ศ. 2566 โ ยกลุ่มตัั อย่างเป็ ป ะชาชนที่่� มีอายุ 6 - 76 ปี ใ รัั เรืือนสุ่่ ล ทั่� ป ะเ ศ และิ กา จำ � งสิ� 47,550 ตัั อย่าง ซึ่่� งมีกา ก ะจายใ เพศ กลุ่มอายุ ภา และจัง วัั ภาพ มผลกา สำ จป ะชาชั อย่างใ ะดัับ ป ะเ ศ พบว่่า ส า ภาพการรู้้� เท่่าทัันสื่� อและสา ส เ ศ มีีคะแ เ ฉล่� ย 72 . 1 ะแนน จัั อยู่ใ ะดัับ ดีี โ ยสม ะย่อยที่� ม ามโ เด่่น คืือ กาิ ยาม มีีคะแ เฉล่� ย 83.2 ะแนน ส่่ สม ะย่อยที่�่ งเสริิมและ พัฒ า คืือ การมีีส่่ ม มีีคะแ เฉล่� ย 57.4 ะแ ส่ ส า ภาพกา เข้้าใจดิิจิทััล มีีคะแ เฉล่� ย 74.4 ะแนน จัั อยู่ใ ะดัับ ดีี โ ยสม ะที่� ามโ เด่่ คืือ ดิิจิทััล อมเมิร์์ซ มี ี ะแ เฉล่� ย 82.0 ะแ ส่ สม ะที่�่ งเสริิมและพัฒ า คืือ กา เข้้าถึึงดิิจิทััล มีีคะแ เฉล่� ย 70.7 ะแ คว มก้าวหน้าทางเทคโนโลยีดิจิทัล ความพร้อม ของโครงสร้างพื้นฐานทางดิจิทัลข งประเทศที่มีคุณภาพ และมี วามคร บคลุมพื้นที่ทั่วประเทศ ตลอดจนราคา โทรศัพท์มือถือและเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีแนวโน้มลดลง อย่างต่อเนื่อง ทำให้ประชาชนส่วนใหญ่สามารถเข้าถึง เทคโนโลยีดิจิทัลได้ง่าย ส่งผลให้ภาครัฐให้ความสำคัญ กับการพัฒนากำลังคนให้สามารถนำดิจิทัลมาใช้ประโยชน์ ในหลากหลายภาคส่วนและหลากหลายมิติ รวมถึง ให้มีความรอบรู้ด้านดิจิทัล ความสามารถในการรับมือ กับข้อมูลข่าวสารที่ผิดพลาด และการรู้เท่าทันสื่อ ด้วยภารกิจของสำนักงานคณะกรรมการดิจิทัล เพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) ในการสำรวจ เก็บรวบรวมข้อมูล ติดตามความเคลื่อนไหวของสถานการณ์ ด้านการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม จึงเล็งเห็น ความสำคัญและได้เริ่มดำเนินการสำรวจข้อมูลสถานภาพ การรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศของประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2561 และ 2563 ตามลำดับ โดยในี พ.ศ. 2566 นับเป็นครั้งแรกของความร่วมมือสำรวจระหว่าง สดช. กับสำนักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.) กระทรวงดิจิทัลเพื่อ เศรษฐกิจและสังคม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอ ข้อมูล ถานภาพการรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ และ สถานภาพการเข้าใจดิจิทัลของประเทศไทย ทั้งใน ระดับประเทศ ระดับภาค และระดับจังหวัด และ สามารถใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจและกำหนด นโยบายเพื่อให้คนไทยได้รับการพัฒนาให้มีศักยภาพ ในการคิด วิเคราะห์ สามารถ “ รู้ รับ ปรับใช้ ” เทคโนโลยี ดิจิทัลใหม่ ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เท่าเทียมกัน โดยไม่มีใครถูกทิ้งไว้ข้างหลัง การสำรวจข้อมูลสถานภาพการรู้เท่าทันสื่อ และสารสนเทศ ( Media and Information Literacy: MIL) และสถานภาพการเข้าใจดิจิทัล ( Digital Literacy: DL) ของประเท ไทย ในปี พ.ศ. 2566 โดยกลุ่ม ตัวอย่างเป็นประชาชนที่มีอายุ 6 - 76 ปี ในครัวเรือน ส่วนบุคคลทั่วประเทศ และคนพิการ จำนวนทั้งสิ้น 47,550 ตัวอย่าง ซึ่งี การกระจายในเพศ กลุ่มอายุ ภาค และจังหวัด ภาพรวมผลการสำรวจประชาชนตัวอย่างในระดับ ประเทศ พบว่า สถานภาพการรู้เท่าทันสื่ และสารสนเทศ มีคะแนนเฉลี่ 72.1 คะแนน จัด ยู่ในระดับ ดี โดย สมรรถนะย่อยที่มีความโดดเด่น คือ การนิยาม มีคะแนน เฉลี่ย 83.2 คะแนน ส่วนสมรรถนะย่อยที่ควรส่งเสริม และพัฒนา คือ การมีส่วนร่วม มีคะแนนเฉลี่ย 57.4 คะแนน ส่วนสถานภาพการเข้าใจดิจิทัล มีคะแนนเฉลี่ย 74.4 คะแนน จัดอยู่ในระดับ ดี โดยสมรรถนะที่มี ความโดดเด่น คือ ดิจิทัลคอมเมิร์ซ มีคะแนนเฉลี่ย 82.0 คะแนน ส่วนสมรรถนะที่ควรส่งเสริมและพัฒนา คือ การเข้าถึงดิจิทัล มีคะแนนเฉลี่ย 70.7 คะแนน สำรวจข้อมูลสถานภาพการรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศของประเทศไทย พ.ศ. 2566 ระดับปรับปรุง ระดับพื้นฐาน ระดับดี ระดับดีมาก 0 50 65 80 100 สถานภาพการเข้าใจดิจิทัล คะแนนเฉลี่ย 74.4 สิทธิและความรับผิดชอบ การเข้าถึงดิจิทัล การสื่อสารยุคดิจิทัล ความปลอดภัยยุคดิจิทัล การรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ แนวปฏิบัติในสังคมดิจิทัล สุขภาพดียุคดิจิทัล ดิจิทัลคอมเมิร์ซ กฎหมายดิจิทัล 72.4 70.7 73.0 72.5 72.8 75.7 77.3 82.0 73.3 MIL DL ผลคะแนนประเมินเฉลี่ย MIL: การรู้เท่าทันสื่อสารสนเทศ DL: การเข้าใจดิจิทัล เฉลี่ย เฉลี่ย คะแนนเฉลี่ย 72.1 สถานภาพการรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ การเข้าถึง 70.7 การประเมิน 72.8 การสร้าง 73.0 83.2 68.6 68.6 62.6 75.0 75.0 75.0 66.0 78.3 78.3 57.4 77.9 การนิยาม การค้นหา การเข้าถึง การค้นคืน การเข้าใจ การประเมินผล การประเมินคุณค่า การจัดระบบ การสร้างสรรค์ การสื่อสาร การมีส่วนร่วม การเฝ้าสังเกต 80

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==