รายงานประจำปี 2566

82 รายงานประจำปี 2566 สำนักงานสถิิติิแห่่งชาติิุ ผ กา ะเมิ ผ ามแผนย่่อยกา้ องกั กาุิ แ ะ ะพฤติิมิชอบ ะชาชนมีีวัฒ ธ ม แ ะพฤติิก มซื่� อสััตย์์สุุิ ะ ำปีี พ.ศ. 2566 ามมติิ ณะรััฐม เม่� อวัันที่่� 29 พฤศจิกาย 2565 มีมติิเห็็ ชอบแผ ปฏิิบัติิกา ด้้า กา่ อต้้า กาุ จริิ และ ป ะพฤติิมิชอบ ะยะที่� 2 (พ.ศ. 2566 - 2570) ให้้่ ยงา ภา รััฐ รััฐวิิสาหกิิจ องค์์ก ม าช และภา เอกชน แปลงแ าง ามแผ ปฏิิบัติิกา ฯ สู่กา ปฏิิบัติิ เพ่� อสนัับสนุุ มติิ ณะรััฐมนตรีีดั งกล่า และสนัับสนุุ แผ แม่บ ภายใต้้ ยุ ธศาส์ ชาติิ ป ะเด็็นที่่� 21 กา่ อต้้า กาุ จริิ และป ะพฤติิมิชอบ ป ะชาชนมีีวััฒ ธ มและพฤติิก ม ซื่่� อสัตย์์สุจริิ ซึ่่� งมีเป้า มายหลัักเพ่� อให้้ภา รััฐม ามโปร่่งใส ปลอ กาุ จริิ และป ะพฤติิมิชอบผ่า การพััฒ า และการพััฒ า ะบบเพ่� อป้องกั กาุ จริิ และป ะพฤติิ มิชอบ โ ยให้้ ามสำคััญกับกา ปรัับ และหล่่อ ลอมพฤติิก ม “คน ” ทุุกกลุ่มในสััง มให้้มีีิ สำนึึกและพฤติิก มยึึดมั� ใ ามซื่่� อสัตย์์สุจริิ ำนัักงานส ถิิติแห่ง าติ กระ ร งดิิจิั ลเพ่� อเศรษฐกิจ และสััง ม และ ำนัักงา ณะกรรมการป้องกั และ ปราบปรามการุ จริตแห่ง าติ ( ำนัักงา ป.ป. .) ำเนิิ การ สำรว จ 2 โ งการ ได้้แก่ 1) กา สำรว จพฤติิกรร มที่� ยึึดมั� ามซื่่� อสัตย์์สุจริิ องเด็็กและเยา ช ไ ย พ.ศ. 2566 เพ่� อให้้มีข้้อมูลเป็ แ างใ กา ติิ าม ป ะเมิ ผล และ างแผ /กํา โยบายใ กา่ อต้้า กาุ จริิ ป ะพฤติิ มิชอบ และสร้้าง าม ะ นัักรู้้ให้้เด็็กและเยา ชนมี าม ซื่่� อสัตย์์สุจริิ 2) กา สำ จวััฒ ธ มค่่านิิยมสุจริิต มีีทััศ ติิ และพฤติิก มใ กา่ อต้้า กาุ จริิ และป ะพฤติิมิชอบ องป ะชาช พ.ศ. 2566 เพ่� อให้้มีข้้อมูลเป็ แ างใ กา ติิ าม ป ะเมิ ผล และ างแผ /กำ โยบายใ การส่่งเสริิม วััฒ ธ มสุจริิ ปลูกจิ สำนึึก และสร้้าง าม ะ นัักรู้้ ให้้ป ะชาช ใุ ก ะดัับม ามซื่่� อสัตย์์สุจริิ โ ยเก็บ บ มข้้อมูล ะ่ างวัันที่่� 24 เมษาย - 12 มิถุุ าย 2566 1) การมีพฤติกรรมที่่� ยึึดมั� ามซ่� อสััตย์สุุจริต อง เด็็กและเยา กา สำ จนี้� ใช้วิิธีกา สำ จด้้ ยตัั อย่าง Stratified Two-stage Sampling และส่งเจ้า้ าที่� องสำนัักงา สถิิติิแห่่งชาติิ ไปสัมภาษณ์สมาชิกใ รัั เรืือนที่่� มีอายุ 12 - 24 ปี ทุุกจัง วััดทั่่� ป ะเ ศ จำ เด็็กและเยา ชั อย่างทั้� งสิ� 46,600 าย สามา สรุุปผล ได้้ดัังนี้� สำนัักงา ป.ป.ช. ได้้กำ การมีีพฤติิก มที่� ยึึดมั� ามซื่่� อสัตย์์สุจริิ องเด็็กและเยา ช ป ะกอบด้้ ย 4 ด้้า คืือ 1) กา ก ะ ำ และการพูู ามจริิง ไม่ลัก โมยไม่เอาเปรีียบ ไม่ฉ ยโอกาส (สัตย์์จริิง โปร่่งใส) 2) กา ก ะ ำ และการพููดที่่� แส งถึึงกา แยกแยะป ะโยชน์์สุ่ ลกับป ะโยชน์์ส่ ม 3) กา ก ะ ำ และการพููดที่่� แส งถึึงกา ปฏิิบัติิต่่อผู้้่� ที่� ไม่แ กต่่างกั (เสมอภาค ย ุุติิธ ม) และ 4) กา ก ะ ำ และการพููดที่่� แส งถึึง ามรัับผิ ชอบต่่อ เองและผู้้่� กา ำ าม ะเบียบวิินััย ( ามรัับผิ ชอบต่่อ้ าที่� ) จากผลสำ จ พบว่่า เด็็กและเยา ช ให้้ ะแ การมีี พฤติิก มที่� ยึึดมั� ามซื่่� อสัตย์์สุจริิ ใ ภาพ มทั่� ป ะเ ศ ด้้ ย ะแ เฉล่� ย 4.21 ะแ จากเต็็ม 5 ะแ ทั้� งนี้� เม่� อพิจา ณาสัดส่่ อง เด็็กและเยา ช ามเกณฑ์์กา ป ะเมิ ผล 1/ พบว่่า เด็็กและเยา ช้ อยละ 34.1 ให้้ ะแ การมีีพฤติิก มที่� ยึึดมั� ามซื่่� อสัตย์์สุจริิ ในร ะดัับมากที่� สุด ร้ อยละ 55.5 ะดัับมาก ร้้อยละ 8.3 ะดัับปา กลาง ร้้อยละ 1.4 ะดัับน้้อย และร้้อยละ 0.7 ะดัับ น้้อยที่� สุ เม่� อพิจา ณาเป็ กลุ่มอายุ พบว่่า เด็็กและเยา ช ที่� มีอายุน้้อยจะให้้ ะแ เฉล่� ยการมีีพฤติิก มที่� ยึึดมั� ามซื่่� อสัตย์์สุจริิตสููงกว่่าเด็็กและเยา ชนที่่� มีอายุมากกว่่า ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2565 มีมติเห็นชอบแผนปฏิบัติการด้านการต่อต้านการทุจริตและ ประพฤติมิชอบ ระยะที่ 2 ( พ.ศ. 2566 - 2570 ) ให้หน่วยงาน ภาครั ฐ รั ฐวิ สาหกิจ องค์กรมหาชน และภาคเอกชน แปลงแนวทางตามแผนปฏิบัติการฯ สู่การปฏิบัติ เพื่อ สนับสนุนมติคณะรัฐมนตรีดังกล่าว และสนับสนุนแผน แม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นที่ 21 การต่อต้าน การทุจริตและประพฤติมิชอบ ประชาชนมีวัฒนธรรม และพฤติกรรมซื่อสัตย์สุจริต ซึ่งมีเป้าหมายหลักเพื่อให้ ภาครัฐมีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ ผ่านการพัฒนาคน และการพัฒนาระบบเพื่ อป้องกัน การทุจริตและประพฤติมิชอบ โดยให้ความสำคัญกับ การปรับ และหล่อหลอมพฤติกรรม “คน” ทุกกลุ่มในสังคม ให้มีจิตสำนึกและพฤติกรรมยึดมั่นในความซื่อสัตย์สุจริต สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ และสังคม และสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและ ปราบปรามการทุ จริ ตแห่ งชาติ (สำนั กงาน ป.ป.ช.) ดำเนินการ สำรวจ 2 โครงการ ได้แก่ 1) การสำรวจพฤติกรรมที่ ยึดมั่นความซื่อสัตย์สุจริตของเด็กและเยาวชนไทย พ.ศ. 2566 เพื่อให้มีข้อมูลเป็นแนวทางในการติดตาม ประเมินผล และ วางแผน/กําหนดนโยบายในการต่อต้านการทุจริตประพฤติมิ ชอบ และสร้ างความตระหนั กรู้ ให้ เด็ กและเยาวชน มีความซื่อสัตย์สุจริต 2) การสำรวจวัฒนธรรมค่านิยมสุจริต มีทัศนคติ และพฤติกรรมในการต่อต้านการทุจริตและ ประพฤติมิชอบของประชาชน พ.ศ. 2566 เพื่อให้มีข้อมูล เป็นแนวทางในการติดตาม ประเมินผล และว งแผน/ กำหนดน โ ยบาย ในกา รส่ ง เ สริ ม วั ฒนธรรมสุ จริต ปลูกจิตสำนึก และสร้างความตระหนักรู้ ให้ประชาชน ในทุกระดับมีความซื่อสัตย์สุจริต โดยเก็บรวบรวมข้อมูล ระหว่างวันที่ 24 เมษายน - 12 มิถุนายน 2566 1) การมีพฤติกรรมที่ยึดมั่นความซื่อสัตย์สุจริตของ เด็กและเยาวชน การสำรวจนี้ ใช้วิธีการสำรวจด้วยตัวอย่าง Stratified Two -stage Sampling และส่งเจ้าหน้าที่ของสำนักงานสถิติ แห่งชาติ ไปสัมภาษณ์สมาชิกในครัวเรือนที่มีอายุ 12 - 24 ปี ทุกจังหวัดทั่วประเทศ จำนวนเด็กและเยาวชน ตัวอย่างทั้งิ้ น 46 , 600 ราย สามารถสรุปผล ได้ดังนี้ สำนักงาน ป.ป.ช. ้ก หนด มีพิ กรรมที่ยึดมั่น ความซื่อสัตย์สุจริตของเด็ก ว น ร้ วย 4 ้าน คือ 1) การกระทำ และการพูดความจริง ไม่ลักขโมย ไม่เอาเปรียบ ไม่ฉวยโอกาส (สัตย์จริง โปร่งใส) 2) การกระทำ และการพูดที่แสดงถึงการแยกแยะประโยชน์ส่วนบุคคล กับประโยชน์ส่วนรวม 3) การกระทำ และการพูดที่แสดง ถึงการปฏิบัติต่อผู้อื่นที่ไม่แตกต่างกัน (เสมอภาค ยุติธรรม) และ 4) การกระทำ และการพูดที่แสดงถึงความรับผิดชอบ ต่อตนเองและผู้อื่น การทำตามระเบียบวินัย (ความรับผิดชอบ ต่อหน้าที่) จากผลสำรวจ พบว่ า เด็กและเยาวชนให้คะแนน การมีพฤติกรรมที่ยึดมั่นความซื่ อสัตย์สุจริต ในภาพรวม ทั่วประเทศ ด้วยค แนนเฉี่ ย 4.21 คะแนน จาก ต็ม 5 คะแนน ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาสัดส่วนของเด็กและเยาวชน ตามเกณฑ์ การประเมินผล 1/ พบว่า เด็กและเยาวชนร้อยละ 34.1 ให้คะแนนการมีพฤติกรรมที่ยึดมั่นความซื่อสัตย์สุจริตในระดับ มากที่สุด ร้อยละ 55.5 ระดับมาก ร้อยละ 8.3 ระดับปานกลาง ร้อยละ 1.4 ระดับน้อย และร้อยละ 0.7 ระดับน้อยที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นกลุ่มอายุ พบว่า เด็กและเยาวชน ที่มีอายุน้อยจะให้คะแนนเฉลี่ยการมีพฤติกรรมที่ยึดมั่น ความซื่อสัตย์สุจริตสูงกว่าเด็กและเยาวชนที่มีอายุมากกว่า สรุปผล การประเมินผลตามแผนย่อยการป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประชาชนมีวัฒนธรรมและพฤติกรรมซื่อสัตย์สุจริต ประจำปี พ.ศ. 2566 แผนภูมิ 1 ร้อยละของเด็กและเยาวชน จำแนกตามการมีพฤติกรรม ที่ยึดมั่นความซื่อสัตย์สุจริต เป็นรายกลุ่มอายุ 34.1 8.3 1.4 55.5 0.7 มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด คะแนนเฉลี่ย (เต็ม 5.0 คะแนน) 7.8 9.0 ทั่วประเทศ คะแนนเต็ม 5.0 คะแนน 0.8 35.2 12 - 17 ปี 54.6 0.4 4.22 คะแนน 89.6 คะแนนเฉลี่ย 4 . 2 1 คะแนน 89.8 89.4 1.9 กลุ่มอายุ 33.3 56.1 0.9 4.20 คะแนน 18 - 24 ปี หมายเหตุ: 1/ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้กำหนดหลักเกณฑ์การประเมินผลฯ ดังนี้ คะแนนเฉลี่ย 4.50 - 5.00 คะแนน อยู่ในระดับมากที่สุด คะแนนเฉลี่ย 3.50 - 4.49 คะแนน อยู่ในระดับมาก คะแนนเฉลี่ย 2.50 - 3.49 คะแนน อยู่ในระดับปานกลาง คะแนนเฉลี่ย 1.50 - 2.49 คะแนน อยู่ในระดับน้อย และคะแนนเฉลี่ย 1.00 - 1.49 คะแนน อยู่ในระดับน้อยที่สุด 82

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==