สำมะโนการเกษตร พ.ศ. 2566 ภาคกลาง
8 2) การตรวจสอบคุณภาพข้อมูล ( Quality Control : QC) ในขั้ นการเก็บรวบรวมข้อมูล กำหนดให้มีการตรวจสอบคุณภาพข้อมูล โดยให้ เจ้าหน้าที่วิชาการสังเกตการณ์การปฏิบัติงานสนามของพนักงานแจงนับพร้อมบันทึกข้อมูลผลในแบบ ตรวจสอบคุณภาพ โดยเจ้าหน้าที่วิชาการ 1 คน สังเกตการณ์พนักงานแจงนับ 6 คน พนักงานแจงนับ แต่ละคนทำการสัมภาษณ์ผู้ถือครองทำการเกษตร 5 ราย โดยให้สังเกตการณ์ในการถามข้อถามทุกตอนและ ทุกข้อคำถาม ซึ่งภาคกลาง มีผลการตรวจสอบคุณภาพข้อมูลขั้นการเก็บรวบรวมข้อมูล 9.7 คะแนน ดังนี้ กรุงเทพมหานคร 10.0 คะแนน จังหวัดสมุทรปราการ 10.0 คะแนน จังหวัดนนทบุรี 9.9 คะแนน จังหวัดปทุมธานี 10.0 คะแนน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 9.8 คะแนน จังหวัดอ่างทอง 9.6 คะแนน จังหวัดลพบุรี 9.6 คะแนน จังหวัดสิงห์บุรี 10.0 คะแนน จังหวัดชัยนาท 8.9 คะแนน จังหวัดสระบุรี 10.0 คะแนน จังหวัดชลบุรี 9.9 คะแนน จังหวัดระยอง 9.9 คะแนน จังหวัดจันทบุรี 9.9 คะแนน จังหวัดตราด 10.0 คะแนน จังหวัดฉะเชิงเทรา 9.7 คะแนน จังหวัดปราจีนบุรี 9.2 คะแนน จังหวัดนครนายก 9.9 คะแนน จังหวัดสระแก้ว 9.3 คะแนน จังหวัดราชบุรี 9.7 คะแนน จังหวัดกาญจนบุรี 9.6 คะแนน จังหวัดสุพรรณบุรี 10.0 คะแนน จังหวัดนครปฐม 9.6 คะแนน จังหวัดสมุทรสาคร 10.0 คะแนน จังหวัดสมุทรสงคราม 10.0 คะแนน จังหวัดเพชรบุรี 10.0 คะแนน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 9.7 คะแนน 3) การสำรวจภายหลังการแจงนับ ( Post Enumeration Survey : PES) กำหนดให้มีการปฏิบัติงานภายหลังจากการเก็บรวบรวมข้อมูลสำมะโนการเกษตร เสร็จสิ้นแล้ว โดยใช้พนักงานแจงนับไม่ซ้ำกับพนักงานเก็บรวบรวมข้อมูล และนำข้อมูลที่ได้จากการทำ สำมะโนการเกษตรมาสอบเทียบ ( Matching) กับข้อมูลที่ได้จากการทำ PES เพื่อวิเคราะห์หาความคลาดเคลื่อน และสรุปผลการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข้อมูลว่ามีความสมบูรณ์มากน้อยเพียงใด ซึ่งพิจารณาได้จาก ความคลาดเคลื่อนของข้อมูล
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==