สำมะโนการเกษตร พ.ศ. 2566 ภาคกลาง
สรุปผลสำมะโน 1. จำนวนผู้ถือครองและเนื้อที่ถือครองทำการเกษตร ผลสำมะโนการเกษตร พ.ศ. 25 6 6 พบว่า ภาคกลางมีผู้ถือครองทำการเกษตรทั้งสิ้น 1 , 206 , 201 ราย ในจำนวนนี้มีสถานภาพการทำการเกษตรในรูปแบบครัวเรือน 1, 205 , 935 ราย คิดเป็นร้อยละ 4.2 ของจำนวนครัวเรือนทั้งประเท ศ 1 โ ดยจังหวัดที่มีจำนวนผู้ถือครองทำการเกษตรมากที่สุด คือ จังหวัด สุพรรณบุรี (ร้อยละ 8.3) รองลงมาคือ จังหวัดกาญจนบุรี และจังหวัดสระแก้ว คิดเป็นร้อยละ 8.0 และ ร้อยละ 7.0 ตามลำดับ ภาคกลางมีเนื้อที่ถือครองทำการเกษตรทั้งสิ้น 2 2 , 494 , 453 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 7.0 ของเนื้อที่ ทั้งประเท ศ 2 โดยจังหวัดที่มีเนื้อที่ถือครองทำการเกษตรมากที่สุด คือ จังหวัดลพบุรี (ร้อยละ 9. 5 ) รองลงมาคือ จังหวัดสระแก้ว และจังหวัดกาญจนบุรี คิดเป็นร้อยละ 9.2 และ ร้อยละ 8.9 ตามลำดับ หากพิจารณาเนื้อที่ถือครองเฉลี่ยต่อผู้ถือครอง พบว่า ผู้ถือครองในภาคกลางมีเนื้อที่ถือครองเฉลี่ย 20.4 ไร่ โดยผู้ถือครองในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีเนื้อที่ถือครองเฉลี่ยมากที่สุด 28.0 ไร่ รองลงมา คือ จังหวัด ลพบุรี และจังหวัดสระแก้ว มีเนื้อที่ถือครองเฉลี่ย 27.4 ไร่ และ 26.3 ไร่ ตามลำดับ (ตารางที่ 1) ตารางที่ 1 จำนวนผู้ถือครองและเนื้อที่ถือครองทำการเกษตร รายจังหวัด ภาคและจังหวัด ผู้ถือครองทำการเกษตร เนื้อที่ถือครองทำการเกษตร เนื้อที่ถือครองเฉลี่ย * (ไร่) จำนวน ร้อยละ เนื้อที่ (ไร่) ร้อยละ ภาคกลาง 1,206,201 100.0 22,494,453 100.0 20.4 กรุงเทพมหานคร 8,853 0.7 137,109 0.6 22.7 สมุทรปราการ 7,635 0.6 104,459 0.5 15.9 นนทบุรี 14,061 1.2 148,594 0.7 11.7 ปทุมธานี 21,194 1.8 498,450 2.2 25.6 พระนครศรีอยุธยา 49,028 4.1 1,196,626 5.3 28.0 อ่างทอง 32,406 2.7 362,108 1.6 13.9 ลพบุรี 83,995 7.0 2,136,159 9.5 27.4 สิงห์บุรี 21,900 1.8 364,264 1.6 17.4 ชัยนาท 46,169 3.8 1,041,994 4.6 25.2 สระบุรี 42,029 3.5 789,614 3.5 20.6 ชลบุรี 39,522 3.3 802,999 3.6 22.9 ระยอง 57,138 4.7 891,907 4.0 16.5 จันทบุรี 68,647 5.7 1,173,497 5.2 17.6 ตราด 31,398 2.6 587,283 2.6 19.2 ฉะเชิงเทรา 64,524 5.3 1,370,107 6.1 23.0 1 ครัวเรือนทั้งประเทศ ปี 25 6 6 มีจำนวน 28 , 675 , 857 ครัวเรือน (กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย) 2 เนื้อที่ทั้งประเทศ 320 , 696 , 893 ไร่ (กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย) บทที่ 3
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==