สำมะโนการเกษตร พ.ศ. 2566 ภาคกลาง
12 * น้อยกว่าร้อยละ 0.1 ตารางที่ 1 จำนวนผู้ถือครองและเนื้อที่ถือครองทำการเกษตร รายจังหวัด (ต่อ) ภาคและจังหวัด ผู้ถือครองทำการเกษตร เนื้อที่ถือครองทำการเกษตร เนื้อที่ถือครองเฉลี่ย * (ไร่) จำนวน ร้อยละ เนื้อที่ (ไร่) ร้อยละ ปราจีนบุรี 51,790 4.3 964,113 4.3 20.8 นครนายก 28,850 2.4 608,323 2.7 23.7 สระแก้ว 84,415 7.0 2,064,084 9.2 26.3 ราชบุรี 62,625 5.2 883,181 3.9 15.6 กาญจนบุรี 96,118 8.0 1,996,109 8.9 22.7 สุพรรณบุรี 100,279 8.3 1,929,993 8.6 21.0 นครปฐม 52,823 4.4 637,892 2.8 13.4 สมุทรสาคร 13,911 1.2 129,488 0.6 10.3 สมุทรสงคราม 13,018 1.1 75,330 0.3 6.1 เพชรบุรี 48,229 4.0 586,230 2.6 13.1 ประจวบคีรีขันธ์ 65,644 5.4 1,014,542 4.5 16.8 * เนื้อที่ถือครองเฉลี่ย คำนวณจาก ผลรวมของเนื้อที่ถือครองหารด้วยจำนวนผู้ถือครองที่รายงานเนื้อที่ถือครองทำการเกษตร 2 . ลักษณะสำคัญของผู้ถือครองทำการเกษตร 2.1 ลักษณะการดำเนินงาน ผู้ถือครองทำการเกษตรในภาคกลางส่วนใหญ่ปลูกพืช โดยพบว่ามีผู้ปลูกพืชอย่างเดียวมากที่สุด (ร้อยละ 7 0.9) รองลงมาคือ ปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ มีร้อยละ 1 2.6 ส่วนผู้ถือครองที่ปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์น้ำ ในพื้นที่น้ำจืด มีร้อยละ 1. 3 และผู้ถือครองที่ทำการเกษตรทั้งปลูกพืช เลี้ยงสัตว์และเลี้ยงสัตว์น้ำในพื้นที่น้ำจืด มีร้อยละ 0.5 (ตารางที่ 2) ตารางที่ 2 จำนวนและร้อยละของผู้ถือครองทำการเกษตร จำแนกตามลักษณะการดำเนินงาน ลักษณะการดำเนินงาน จำนวนผู้ถือครอง ร้อยละ ผู้ถือครองทั้งสิ้น 1,206,201 100.0 ทำการเกษตรกิจกรรมเดียว ปลูกพืช 854,937 70.9 เลี้ยงสัตว์ 145,757 12.1 เลี้ยงสัตว์น้ำในพื้นที่น้ำจืด 27,514 2.3 ทำนาเกลือสมุทร 755 0.1 ทำการเกษตร 2 กิจกรรม ปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ 151,432 12.6 ปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์น้ำในพื้นที่น้ำจืด 16,281 1.3 เลี้ยงสัตว์และเลี้ยงสัตว์น้ำในพื้นที่น้ำจืด 3,883 0.3 ทำนาเกลือสมุทรร่วมกับกิจกรรมอื่น 83 0.0 * ทำการเกษตร 3 กิจกรรม ปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ และเลี้ยงสัตว์น้ำในพื้นที่น้ำจืด 5,559 0.5
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==