สำมะโนการเกษตร พ.ศ. 2566 ภาคกลาง

13 2.2 ขนาดเนื้อที่ถือครองทำการเกษตร ผู้ถือครองทำการเกษตร มีขนาดเนื้อที่ถือครอง 10 – 19 ไร่ มากที่สุด (ร้อยละ 25. 3 ) รองลงมาคือ 20 - 39 ไร่ (ร้อยละ 22.8) และ 2 – 5 ไร่ (ร้อยละ 18. 9 ) เป็นที่น่าสังเกตว่า ผู้ถือครองที่มี เนื้อที่ถือครองน้อยกว่า 20 ไร่ มีสูงถึงร้อยละ 6 4.9 ในขณะที่ผู้ถือครองที่มีเนื้อที่ขนาดใหญ่ (140 ไร่ขึ้นไป) มีเพียงร้อยละ 0.9 (ตารางที่ 3) ตารางที่ 3 จำนวนและร้อยละของผู้ถือครองทำการเกษตร จำแนกตามขนาดเนื้อที่ถือครองทั้งสิ้น ขนาดเนื้อที่ถือครองทั้งสิ้น จำนวนผู้ถือครอง ร้อยละ ผู้ถือครองที่รายงานเนื้อที่ถือครอง 1,102,806 100.0 ตํ่ากว่า 2 ไร่ 101,725 9.2 2 – 5 ไร่ 207,806 18.9 6 – 9 ไร่ 127,794 11.6 10 – 19 ไร่ 278,901 25.3 20 – 39 ไร่ 251,473 22.8 40 – 59 ไร่ 78,476 7.1 60 – 139 ไร่ 46,656 4.2 140 ไร่ ขึ้นไป 9,975 0.9 2.3 การถือครองที่ดิน ผู้ ถือครองทำการเกษตรเกินครึ่ ง (ร้อยละ 72.3) ทำการเกษตรในเนื้ อที่ ของตนเอง มีเพียงร้อยละ 19.6 ที่ทำการเกษตรในเนื้อที่ไม่ใช่ของตนเอง และอีกร้อยละ 8.1 ทำการเกษตรทั้งใน เนื้อที่ของตนเองและไม่ใช่ของตนเอง สำหรับผู้ที่ทำการเกษตรในเนื้อที่ของตนเองนั้น พบว่า มีเอกสารสิทธิ์ เป็นโฉนดมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 7 3 .2 (ตารางที่ 4) ตารางที่ 4 จำนวนและร้อยละของผู้ถือครองทำการเกษตร จำแนกตามการถือครองที่ดินและประเภท เอกสารสิทธิ์ รายการ จำนวนผู้ถือครอง ร้อยละ ผู้ถือครองที่รายงานการถือครองที่ดิน 1,102,806 100.0 1. ลักษณะการถือครองที่ดิน เนื้อที่ของตนเอง 797,741 72.3 เนื้อที่ไม่ใช่ของตนเอง 216,163 19.6 เนื้อที่ของตนเองและไม่ใช่ของตนเอง 88,902 8.1 2. ประเภทเอกสารสิทธิ์ * (เฉพาะเนื้อที่ของตนเอง) โฉนด 649,009 73.2 หนังสืออนุญาตการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) 151,627 17.1 หนังสืออนุญาตการใช้ประโยชน์ที่ดินของรัฐอื่น ๆ ที่ไม่ได้ออกโดย ส.ป.ก. 27,984 3.2 เอกสารเกี่ยวกับที่ดินอื่น ๆ 85,398 9.6 * ผู้ถือครอง 1 ราย อาจรายงานเอกสารสิทธิ์ มากกว่า 1 ประเภท

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==