สำมะโนการเกษตร พ.ศ. 2566 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

12 ตาราง 1 จำนวนผู้ถือครองและเนื้อที่ถือครองทำการเกษตร รายจังหวัด (ต่อ) ภาคและจังหวัด ผู้ถือครองทำการเกษตร เนื้อที่ถือครองทำการเกษตร เนื้อที่ถือครองเฉลี่ย * (ไร่) จำนวน ร้อยละ เนื้อที่ (ไร่) ร้อยละ เลย 134,987 3.4 2,969,816 4.5 22.8 หนองคาย 85,191 2.1 1,322,714 2.0 16.5 มหาสารคาม 186,589 4.7 2,649,949 4.1 14.8 ร้อยเอ็ด 261,031 6. 5 3,666,218 5.6 14.6 กาฬสินธุ์ 194,207 4.9 2,563,145 3.9 14.0 สกลนคร 239,608 6.0 3,626,369 5.5 15.8 นครพนม 147,944 3.7 2,174,579 3.3 15.2 มุกดาหาร 78,145 2.0 1,111,384 1.7 14.5 * เนื้อที่ถือครองเฉลี่ย คำนวณจาก ผลรวมของเนื้อที่ถือครองหารด้วยจำนวนผู้ถือครองที่รายงานเนื้อที่ถือครองทำการเกษตร 2 . ลักษณะสำคัญของผู้ถือครองทำการเกษตร 2.1 ลักษณะการดำเนินงาน ผู้ถือครองทำการเกษตรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือส่วนใหญ่ปลูกพืช โดยพบว่ามีผู้ปลูกพืช อย่างเดียวมากที่สุด (ร้อยละ 61.8) ในขณะที่มีผู้ปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ ร้อยละ 30.4 ปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ และเลี้ยงสัตว์น้ำในพื้นที่น้ำจืด ร้อยละ 1.3 และปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์น้ำในพื้นที่น้ำจืด ร้อยละ 0.8 (ตาราง 2) ตาราง 2 จำนวนและร้อยละของผู้ถือครองทำการเกษตร จำแนกตามลักษณะการดำเนินงาน ลักษณะการดำเนินงาน จำนวน ร้อยละ ผู้ถือครองทั้งสิ้น 3,982,045 100.0 ทำการเกษตรกิจกรรมเดียว ปลูกพืช 2,459,451 61.8 เลี้ยงสัตว์ 224,585 5.6 เลี้ยงสัตว์น้ำในพื้นที่น้ำจืด 3,553 0.1 ทำการเกษตร 2 กิจกรรม ปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ 1,210,429 30.4 ปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์น้ำในพื้นที่น้ำจืด 31,574 0.8 เลี้ยงสัตว์และเลี้ยงสัตว์น้ำในพื้นที่น้ำจืด 943 0.0* ทำการเกษตร 3 กิจกรรม ปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ เลี้ยงสัตว์น้ำในพื้นที่น้ำจืด 51,513 1.3 * น้อยกว่าร้อยละ 0.1

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==