สำมะโนการเกษตร พ.ศ. 2566 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

13 2.2 ขนาดเนื้อที่ถือครองทำการเกษตร ผู้ถือครองทำการเกษตรมีขนาดเนื้อที่ถือครอง 10 – 19 ไร่ มากที่สุด (ร้อยละ 35.7) รองลงมาคือ 20 – 39 ไร่ (ร้อยละ 22.9) และ 6 – 9 ไร่ (ร้อยละ 17.7) เป็นที่น่าสังเกตว่า ผู้ถือครองที่มีเนื้อที่ถือครอง น้อยกว่า 20 ไร่ มีสูงถึงร้อยละ 69.8 ในขณะที่ผู้ถือครองที่มีเนื้อที่ขนาดใหญ่ (140 ไร่ขึ้นไป) มีเพียง ร้อยละ 0. 2 (ตาราง 3) ตาราง 3 จำนวนและร้อยละของผู้ถือครองทำการเกษตร จำแนกตามขนาดเนื้อที่ถือครองทั้งสิ้น ขนาดเนื้อที่ถือครองทั้งสิ้น จำนวนผู้ถือครอง ร้อยละ ผู้ถือครองที่รายงานเนื้อที่ถือครอง 3,784,458 100.0 ตํ่ากว่า 2 ไร่ 59,583 1.6 2 – 5 ไร่ 561,479 14.8 6 – 9 ไร่ 671,826 17.7 10 – 19 ไร่ 1,351,379 35.7 20 – 39 ไร่ 865,212 22.9 40 – 59 ไร่ 187,203 4.9 60 – 139 ไร่ 81,488 2.2 140 ไร่ ขึ้นไป 6,288 0.2 2.3 การถือครองที่ดิน ผู้ถือครองทำการเกษตรส่วนใหญ่ (ร้อยละ 89. 0) ทำการเกษตรในเนื้อที่ของตนเอง มีเพียง ร้อยละ 5.7 ที่ทำการเกษตรในเนื้อที่ไม่ใช่ของตนเอง และอีกร้อยละ 5.3 ทำการเกษตรทั้งในเนื้อที่ ของตนเองและไม่ใช่ของตนเอง สำหรับผู้ที่ทำการเกษตรในเนื้อที่ของตนเองนั้น พบว่า มีเอกสารสิทธิ์ เป็นโฉนดมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 7 4.7 (ตาราง 4) ตาราง 4 จำนวนและร้อยละของผู้ถือครองทำการเกษตร จำแนกตามการถือครองที่ดินและประเภท เอกสารสิทธิ์ รายการ จำนวนผู้ถือครอง ร้อยละ ผู้ถือครองที่รายงานการถือครองที่ดิน 3,784,458 100.0 1. ลักษณะการถือครองที่ดิน เนื้อที่ของตนเอง 3,366,394 89.0 เนื้อที่ไม่ใช่ของตนเอง 216,379 5.7 เนื้อที่ของตนเองและไม่ใช่ของตนเอง 201,685 5.3 2. ประเภทเอกสารสิทธิ์* (เฉพาะเนื้อที่ของตนเอง) โฉนด 2,665,765 74.7 หนังสืออนุญาตการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) 821,670 23.0 หนังสืออนุญาตการใช้ประโยชน์ที่ดินของรัฐอื่น ๆ ที่ไม่ได้ออกโดย ส.ป.ก. 107,750 3.0 เอกสารเกี่ยวกับที่ดินอื่น ๆ 302,616 8.5 * ผู้ถือครอง 1 ราย อาจรายงานเอกสารสิทธิ์ มากกว่า 1 ประเภท

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==