สำมะโนการเกษตร พ.ศ. 2566 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

15 3.2 เนื้อที่ตามการใช้ประโยชน์ในเนื้อที่ถือครอง เนื้อที่ถือครองทำการเกษตรเกินครึ่ง (ร้อยละ 63.7) เป็นที่นา (ปลูกข้าว) รองลงมาคือ เนื้อที่ ปลูกพืชไร่ (ร้อยละ 19.5) และเนื้อที่สวนยางพารา (ร้อยละ 1 1.0 ) (ตาราง 7) ตาราง 7 เนื้อที่และร้อยละของเนื้อที่ถือครองทำการเกษตร จำแนกตามการใช้ประโยชน์ในที่ถือครอง การใช้ประโยชน์ในที่ถือครอง เนื้อที่ถือครอง (ไร่) ร้อยละ เนื้อที่ถือครองทั้งสิ้น 65,383,338 100.0 ที่นา (ปลูกข้าว) 41,662,935 63.7 สวนยางพารา 7,167,865 11.0 ที่ปลูกพืชยืนต้นและไม้ผล 1,558,776 2.4 ที่ปลูกพืชไร่ 12,774,632 19.5 ที่ปลูกพืชผัก สมุนไพร และไม้ดอกไม้ประดับ 118,193 0.2 ที่สวนป่า 247,983 0.4 ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ 250,686 0.4 ที่เลี้ยงสัตว์ (คอกสัตว์) 217,540 0.3 ที่เลี้ยงสัตว์น้ำในพื้นที่น้ำจืด 159,094 0.2 แหล่งน้ำเพื่อการเกษตร (บ่อน้ำ สระน้ำ) 164,737 0.3 ที่อื่น ๆ 1,060,897 1.6 4. การปลูกพืช จากผู้ถือครองทำการเกษตรที่ปลูกพืชทั้งสิ้น 3 ,752,964 ราย พบว่า พืชที่มีผู้ปลูกมากที่สุด 5 อันดับแรก ได้แก่ ข้าว ยางพารา มันสำปะหลัง อ้อยโรงงาน และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (ตาราง 8) ตาราง 8 จำนวนและร้อยละของผู้ถือครองทำการเกษตร จำแนกตามชนิดพืชที่มีผู้ปลูกมากที่สุด 5 อันดับ ชนิดพืช จำนวนผู้ถือครอง* ร้อยละ 1. ข้าว 3 ,140,074 83.7 2. ยางพารา 460,181 12. 3 3. มันสำปะหลัง 435,280 11.6 4. อ้อยโรงงาน 202,540 5.4 5. ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 63,789 1.7 * ผู้ถือครอง 1 ราย อาจปลูกพืช มากกว่า 1 ชนิด

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==