สำมะโนการเกษตร พ.ศ. 2566 ภาคใต้
12 2 . ลักษณะสำคัญของผู้ถือครองทำการเกษตร 2.1 ลักษณะการดำเนินงาน ผู้ถือครองทำการเกษตรในภาคใต้ส่วนใหญ่ปลูกพืช โดยพบว่ามีผู้ปลูกพืชอย่างเดียวมากที่สุด (ร้อยละ 75 . 3 ) รองลงมาคือ ปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ มีร้อยละ 15 . 9 ส่วนผู้ถือครองที่ปลูกพืชและเลี้ยง สัตว์น้ำในพื้นที่น้ำจืด มีร้อยละ 0. 3 และผู้ถือครองที่ทำการเกษตรทั้งปลูกพืช เลี้ยงสัตว์และเลี้ยงสัตว์น้ำ ในพื้นที่น้ำจืด มีร้อยละ 0. 4 (ตารางที่ 2) ตารางที่ 2 จำนวนและร้อยละของผู้ถือครองทำการเกษตร จำแนกตามลักษณะการดำเนินงาน ลักษณะการดำเนินงาน จำนวนผู้ถือครอง ร้อยละ ผู้ถือครองทั้งสิ้น 1,645,193 100.0 ทำการเกษตรกิจกรรมเดียว ปลูกพืช 1,239,283 75.3 เลี้ยงสัตว์ 126,031 7.7 เลี้ยงสัตว์น้ำในพื้นที่น้ำจืด 4,186 0.3 ทำนาเกลือสมุทร 66 0.0* ทำการเกษตร 2 กิจกรรม ปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ 262,247 15.9 ปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์น้ำในพื้นที่น้ำจืด 5,550 0.3 เลี้ยงสัตว์และเลี้ยงสัตว์น้ำในพื้นที่น้ำจืด 964 0.1 ทำนาเกลือสมุทรร่วมกับกิจกรรมอื่น 20 0.0* ทำการเกษตร 3 กิจกรรม ปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ เลี้ยงสัตว์น้ำในพื้นที่น้ำจืด 6,846 0.4 * น้อยกว่าร้อยละ 0.1 2.2 ขนาดเนื้อที่ถือครองทำการเกษตร ผู้ถือครองทำการเกษตร มีขนาดเนื้อที่ถือครอง 2 – 5 ไร่ มากที่สุด (ร้อยละ 26. 3 ) รองลงมา คือ 10 - 19 ไร่ (ร้อยละ 26.0) และ 6 – 9 ไร่ (ร้อยละ 18. 4 ) เป็นที่น่าสังเกตว่า ผู้ถือครองที่มี เนื้อที่ถือครองน้อยกว่า 20 ไร่ มีสูงถึงร้อยละ 78.3 ในขณะที่ผู้ถือครองที่มีเนื้อที่ขนาดใหญ่ (140 ไร่ขึ้นไป) มีเพียงร้อยละ 0. 2 (ตารางที่ 3) ตารางที่ 3 จำนวนและร้อยละของผู้ถือครองทำการเกษตร จำแนกตามขนาดเนื้อที่ถือครองทั้งสิ้น ขนาดเนื้อที่ถือครองทั้งสิ้น จำนวนผู้ถือครอง ร้อยละ ผู้ถือครองที่รายงานเนื้อที่ถือครอง 1,553,644 100.0 ตํ่ากว่า 2 ไร่ 118,522 7.6 2 – 5 ไร่ 409,401 26.3 6 – 9 ไร่ 285,231 18.4 10 – 19 ไร่ 403,670 26.0 20 – 39 ไร่ 244,780 15.7 40 – 59 ไร่ 60,156 3.9 60 – 139 ไร่ 29,401 1.9 140 ไร่ ขึ้นไป 2,483 0.2
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==