สำมะโนการเกษตร พ.ศ. 2566 ภาคใต้
13 ** น้อยกว่าร้อยละ 0.1 2.3 การถือครองที่ดิน ผู้ ถือครองทำการเกษตรเกินครึ่ ง (ร้ อยละ 89.4 ) ทำการเกษตรในเนื้ อที่ ของตนเอง มีเพียงร้อยละ 6.9 ที่ทำการเกษตรในเนื้อที่ไม่ใช่ของตนเอง และอีกร้อยละ 3.7 ทำการเกษตรทั้งใน เนื้อที่ของตนเองและไม่ใช่ของตนเอง สำหรับผู้ที่ทำการเกษตรในเนื้อที่ของตนเองนั้น พบว่า มีเอกสารสิทธิ์ เป็นโฉนด มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 71.2 (ตารางที่ 4) ตารางที่ 4 จำนวนและร้อยละของผู้ถือครองทำการเกษตร จำแนกตามการถือครองที่ดินและประเภท เอกสารสิทธิ์ รายการ จำนวนผู้ถือครอง ร้อยละ ผู้ถือครองที่รายงานการถือครองที่ดิน 1,553,644 100.0 1. ลักษณะการถือครองที่ดิน เนื้อที่ของตนเอง 1,388,473 89.4 เนื้อที่ไม่ใช่ของตนเอง 107,525 6.9 เนื้อที่ของตนเองและไม่ใช่ของตนเอง 57,646 3.7 2. ประเภทเอกสารสิทธิ์ * (เฉพาะเนื้อที่ของตนเอง) โฉนด 1,030,146 71.2 หนังสืออนุญาตการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) 223,907 15.5 หนังสืออนุญาตการใช้ประโยชน์ที่ดินของรัฐอื่น ๆ ที่ไม่ได้ออกโดย ส.ป.ก. 48,123 3.3 เอกสารเกี่ยวกับที่ดินอื่น ๆ 258,384 17.9 * ผู้ถือครอง 1 ราย อาจรายงานเอกสารสิทธิ์ มากกว่า 1 ประเภท 2.4 การใช้ประโยชน์ในที่ถือครอง การใช้ประโยชน์ในที่ถือครองของผู้ถือครองในภาคใต้ เป็นที่ปลูกยางพารามากที่สุด (ร้อยละ 68.1 ) รองลงมาคือ ปลูกพืชยืนต้นและไม้ผล (ร้อยละ 35.6) (ตารางที่ 5) ตารางที่ 5 จำนวนและร้อยละของผู้ถือครองทำการเกษตร จำแนกตามการใช้ประโยชน์ในที่ถือครอง การใช้ประโยชน์ในที่ถือครอง จำนวนผู้ถือครอง ร้อยละ ผู้ถือครองที่รายงานการใช้ประโยชน์ในที่ถือครอง* 1,553,644 ที่นา (ปลูกข้าว) 94,174 6.1 สวนยางพารา 1,058,529 68.1 ที่ปลูกพืชยืนต้นและไม้ผล 553,165 35.6 ที่ปลูกพืชไร่ 11,552 0.7 ที่ปลูกพืชผัก สมุนไพร และไม้ดอกไม้ประดับ 33,544 2.2 ที่สวนป่า 1,985 0.1 ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ 5,806 0.4 ที่เลี้ยงสัตว์ (คอกสัตว์) 55,000 3.5 ที่เลี้ยงสัตว์น้ำในพื้นที่น้ำจืด 13,587 0.9 ที่ทำนาเกลือสมุทร 86 0.0** แหล่งน้ำเพื่อการเกษตร (บ่อน้ำ สระน้ำ) 8,971 0.6 ที่อื่น ๆ 49,492 3.2 * ผู้ถือครอง 1 ราย อาจรายงานการใช้ประโยชน์ในที่ถือครอง มากกว่า 1 ลักษณะ
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==