สำมะโนการเกษตร พ.ศ. 2566 ภาคใต้
14 * น้อยกว่าร้อยละ 0.1 3 . เนื้อที่ถือครองทำการเกษตร 3.1 การถือครองที่ดินและเอกสารสิทธิ์ เนื้อที่ถือครองทำการเกษตรในภาคใต้เกินครึ่ ง (ร้อยละ 89.5) เป็นที่ดินของผู้ถือครอง ทำการเกษตร ในจำนวนนี้เป็นที่ดินมีเอกสารสิทธิ์เป็นโฉนดมากที่สุด (ร้อยละ 5 9.5 ) รองลงมาคือ หนังสือ อนุญาตการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) มีร้อยละ 18.7 (ตารางที่ 6) ตารางที่ 6 เนื้อที่และร้อยละของเนื้อที่ถือครองทำการเกษตร จำแนกตามการถือครองที่ดินและประเภท เอกสารสิทธิ์ รายการ เนื้อที่ถือครอง (ไร่) ร้อยละ 1. การถือครองที่ดิน 21,304,061 100.0 เนื้อที่ของตนเอง 19,071,545 89.5 เนื้อที่ไม่ใช่ของตนเอง 2,232,516 10.5 2. ประเภทเอกสารสิทธิ์ (เฉพาะเนื้อที่ของตนเอง) 19,071,545 100.0 โฉนด 11,349,599 59.5 หนังสืออนุญาตการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) 3,559,426 18.7 หนังสืออนุญาตการใช้ประโยชน์ที่ดินของรัฐอื่น ๆ ที่ไม่ได้ออกโดย ส.ป.ก. 716,212 3.7 เอกสารเกี่ยวกับที่ดินอื่น ๆ 3,446,308 18.1 3.2 เนื้อที่ตามการใช้ประโยชน์ในที่ถือครอง เนื้อที่ถือครองทำการเกษตรเกินครึ่ง (ร้อยละ 62.5 ) เป็นสวนยางพารา รองลงมาเป็นเนื้อที่ ปลูกพืชยืนต้นและไม้ผล (ร้อยละ 31.6 ) (ตารางที่ 7) ตารางที่ 7 เนื้อที่และร้อยละของเนื้อที่ถือครองทำการเกษตร จำแนกตามการใช้ประโยชน์ในที่ถือครอง การใช้ประโยชน์ในที่ถือครอง เนื้อที่ถือครอง (ไร่) ร้อยละ เนื้อที่ถือครองทั้งสิ้น 21,304,061 100.0 ที่นา (ปลูกข้าว) 891,365 4.2 สวนยางพารา 13,317,651 62.5 ที่ปลูกพืชยืนต้นและไม้ผล 6,721,691 31.6 ที่ปลูกพืชไร่ 60,204 0.3 ที่ปลูกพืชผัก สมุนไพร และไม้ดอกไม้ประดับ 50,716 0.2 ที่สวนป่า 10,653 0.0* ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ 12,155 0.1 ที่เลี้ยงสัตว์ (คอกสัตว์) 41,943 0.2 ที่เลี้ยงสัตว์น้ำในพื้นที่น้ำจืด 83,334 0.4 ที่นาเกลือสมุทร 516 0.0* แหล่งน้ำเพื่อการเกษตร (บ่อน้ำ สระน้ำ) 8,887 0.0* ที่อื่น ๆ 104,946 0.5
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==