สำมะโนการเกษตร พ.ศ. 2566 ภาคใต้

18 ตารางที่ 15 จำนวนและร้อยละของผู้ถือครองทำการเกษตร จำแนกตามแหล่งที่มาของรายได้ของ ครัวเรือน และรายได้จากผลผลิตทางการเกษตร รายการ จำนวนผู้ถือครอง ร้อยละ 1. ผู้ถือครองทำการเกษตร (ไม่รวมบริษัทฯ) ที่รายงานแหล่งที่มาของ รายได้ของครัวเรือน 1,075,9 12 100.0 จากการเกษตรอย่างเดียว 431,746 40.1 จากการเกษตรและจากแหล่งอื่น 644,166 59.9 - ส่วนใหญ่จากผลผลิตทางการเกษตร 299,740 27.9 - ส่วนใหญ่จากแหล่งอื่น (รวมจากการรับจ้างทำการเกษตร) 344,426 32.0 2. ผู้ ถือครองทำการเกษตร (ไม่ รวมบริษัทฯ) ที่ รายงานรายได้ จากผลผลิตทางการเกษตร * 1,075,9 10 100.0 ยังไม่มีรายได้จากผลผลิต 66,260 6.2 มีรายได้จากผลผลิต 1,009,650 93.8 ต่ำกว่า 5 ,001 บาท 64,276 6.0 5 ,00 1 – 10,000 บาท 60,795 5.6 10,001 – 20,000 บาท 96,811 9.0 20,001 – 50,000 บาท 245,132 22.8 5 0,001 – 100,000 บาท 232,283 21.6 10 0,001 บาท ขึ้นไป 310,353 28.8 3. รายได้เฉลี่ย 129,292 บาท * มูลค่าผลผลิตทางการเกษตรและผลพลอยได้จากการผลิตทางการเกษตร (รวมทั้งขายและไม่ได้ขาย) 10. หนี้สินของครัวเรือน ครัวเรือนผู้ถือครองทำการเกษตร ร้อยละ 51. 3 ไม่มีหนี้สิน และร้อยละ 48. 7 มีหนี้สิน โดยมีหนี้สินเฉลี่ย 256,684 บาทต่อครัวเรือน หากพิจารณาแหล่งเงินกู้ พบว่า ครัวเรือนผู้ถือครองทำการเกษตรกู้มาจากธนาคารเพื่อ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธกส.) มากที่สุด (ร้อยละ 44.4) รองลงมาคือ กองทุนหมู่บ้านและ ชุมชนเมืองแห่งชาติ (ร้อยละ 11.0) และธนาคารอื่น ๆ/สถาบันการเงิน (ร้อยละ 9.0) (ตารางที่ 16)

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==