สำมะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม พ.ศ.2565 ธุรกิจทางการค้าและธุรกิจทางการบริการ กรุงเทพมหานคร
4. การประมาณค่ายอดรวมในระดับหมวดย่อย สูตรการประมาณค่ายอดรวมของลักษณะที่ต้องการศึกษา X สำหรับสถานประกอบการในหมวดย่อย j ภาค h ของแต่ละขนาดของสถานประกอบการที่ต้องการนำผลเสนอผล จำนวน 8 ขนาด คือ ขนาดของสถานประกอบการ ค่าประมาณยอดรวม 1-5 คน ( p = 1 ) ̂ ℎ 1 = ∑ ̂ ℎ 1 =1 6 -1 0 คน ( p = 2 ) ̂ ℎ 2 = ∑ ̂ ℎ 2 =1 1 1 -15 คน ( p = 3 ) ̂ ℎ 3 = ∑ ̂ ℎ 3 =1 16 - 25 คน ( p = 4,5 ) ̂ ℎ 4 = ∑ ̂ ℎ 4 =1 26 - 30 คน ( p = 6 ) ̂ ℎ 5 = ∑ ̂ ℎ 5 =1 31 - 50 คน ( p = 7 ) ̂ ℎ 6 = ∑ ̂ ℎ 6 =1 51 - 200 คน ( p = 8,9 ) ̂ ℎ 7 = ∑ ̂ ℎ 7 =1 >200 คน ( p =10,11,12) ̂ ℎ 8 = ∑ ̂ ℎ 8 =1 โดยที่ คือ จำนวนหมู่ใหญ่ทั้งสิ้นในหมวดย่อย j ซึ่ง D j j = = 27 1 75 5. การประมาณค่าความแปรปรวนของค่าประมาณยอดรวม สูตรการประมาณค่าความแปรปรวนของค่าประมาณยอดรวมของลักษณะที่ต้องการศึกษา X สำหรับ สถานประกอบการที่มีจำนวนคนทำงาน 1 – 10 คน ( p = 1, 2 ) กิจกรรม m หมู่ย่อย l หมู่ใหญ่ k หมวดย่อย j ภาค h คือ ̂ ( ̂ ′ ℎ )∑ ̂ ( ̂′ ℎ ) ℎ =1 โดยที่ ̂ ( ̂ ′ ℎ ) คือ ค่าประมาณความแปรปรวนของค่าประมาณยอดรวมของลักษณะที่ต้องการ ศึกษา X สำหรับสถานประกอบการที่มีขนาดย่อยของสถานประกอบการ p กิจกรรม m หมู่ย่อย l หมู่ใหญ่ k หมวดย่อย j ซึ่ง 113
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==