สำมะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม พ.ศ.2565 ธุรกิจทางการค้าและธุรกิจทางการบริการ กรุงเทพมหานคร

รายการ ระดับผลกระทบที่ได้รับ ปี 2564 ปี 2565 ไม่มี ผลกระทบ น้อย ที่สุด น้อย ปาน กลาง มาก มาก ที่สุด ไม่มี ผลกระทบ น้อย ที่สุด น้อย ปาน กลาง มาก มาก ที่สุด รายได้/ยอดสั่งซื้อสินค้าลดลง 2.6 1.9 5.7 19.9 37.1 32.8 2.8 2.0 10.5 30.4 32.9 21.4 จานวนลูกค้าลดลง 2.6 1.9 6.9 21.2 37.4 30.0 2.9 1.8 12.6 30.7 32.3 19.7 ต้นทุนในการ ดาเนินธุรกิจสูงขึ้น 3.4 2.1 6.8 25.8 38.9 23.0 3.7 2.1 8.9 25.6 35.0 24.7 สภาพคล่องทางการเงินลดลง 4.1 2.3 8.6 27.6 34.8 22.6 4.8 2.7 13.0 33.9 28.4 17.2 ชะลอการจ้างพนักงานใหม่ 51.1 7.1 8.1 11.5 10.6 11.6 54.5 6.7 9.7 12.5 9.2 7.4 เลิกจ้างพนักงาน 59.3 7.8 8.3 10.4 7.9 6.3 62.4 7.9 9.6 9.9 6.0 4.2 ความล่าช้าในการขนส่งสินค้า 56.1 9.0 10.1 13.1 7.0 4.7 59.9 9.0 11.1 12.2 4.8 3.0 3.3.1 ระดับของผลกระทบที่สถานประกอบการได้รับจากสถานการณ์โควิด 19 จากการสามะโนพบว่า ในปี 2564 ผู้ประกอบการธุรกิจ ฯ ส่วนใหญ่ได้รับผลกระทบในระดับมาก จากเรื่องของรายได้/ยอดสั่งซื้อสินค้าลดลง รองลงมาเป็นเรื่องของจ านวนลูกค้าลดลง ต้นทุนในการด าเนิน ธุรกิจสูงขึ้น และสภาพคล่องทางการเงินลดลง ตาม ลาดับ ในขณะที่การชะลอการจ้างพนักงานใหม่ การเลิก จ้างพนักงาน และความล่าช้าในการขนส่งสินค้า พบว่า ผู้ประกอบการธุรกิจส่วนใหญ่ไม่ได้รับผลกระทบ ในเรื่องดังกล่าว และในปี 2565 พบว่าระดับผลกระทบต่อสถานประกอบการจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โควิด 19 ส่วนใหญ่ได้มีการปรับระดับความรุนแรงลดลงเป็นระดับปานกลาง แต่ในเรื่องของต้นทุน ในการด าเนินธุรกิจสูงขึ้นยังมีผลกระทบต่อการด าเนินกิจการของสถานประกอบการในระดับมากที่สุดสาหรับ ในเรื่องชะลอการจ้างพนักงานใหม่ เลิกจ้างพนักงาน และความล่าช้าในการขนส่งสินค้ายังเป็นเรื่องที่ไม่ส่งผล กระทบต่อการดาเนินกิจการของสถานประกอบการส่วนใหญ่ ตาราง ฉ ร้อยละของสถานประกอบการ จ าแนกตามระดับของผลกระทบที่ได้รับจากสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 ใน ปี 2564 และ ปี 2565 39

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==