สำมะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม พ.ศ.2565 ธุรกิจทางการค้าและธุรกิจทางการบริการ กรุงเทพมหานคร
3.3.2 แนวทางการแก้ไขปัญหาของสถานประกอบการ ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด 19 สถานประกอบการธุรกิจฯ ร้อยละ 81.1 ที่ได้รับ ผลกระทบจากสถานการณ์โควิด 19 ส่วนใหญ่มีแนวทาง แก้ไขปัญหาโดยการหยุดกิจการชั่วคราว/ เปิดด าเนิน กิจการบางส่วน และปรับรูปแบบการจ้างแรงงาน/ พนักงาน ร้อยละ 39.1 และ 27.8 ตามลาดับ ภาพที่ 1 ร้อยละของสถานประกอบการจ าแนกตาม แนวทางการแก้ไขปัญหาของสถานประกอบการ ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 3 . 3.3 การฟื้นตัวของสถานประกอบการโดย เปรียบเทียบสัดส่วนรายรับในปี 2565 กับรายรับ ในปี 2562 (ปีก่อนเกิดสถานการณ์โควิด19) จากการสอบถามสถานประกอบการถึง การฟื้นตัวของสถานประกอบการโดยเปรียบเทียบสัดส่วน รายรับในปี 2565 กับรายรับในปี 2562 ซึ่งเป็นปีก่อน เกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด 19 พบว่า สถานประกอบการส่วนใหญ่ หรือร้อยละ 55.3 ยังคง อยู่ในระดับหดตัว โดยอุปสรรคที่ท าให้ไม่สามารถฟื้น ตัวส่วนใหญ่ หรือร้อยละ 84.3 คืออุปสรรคในเรื่อง กาลังซื้อยังคงอ่อนแอ ภาพที่ 2 ร้อยละของสถานประกอบการจ าแนก ตามการฟื้นตัวของสถานปร ะกอบการ โ ดย เปรียบเทียบสัดส่วนรายรับในปี 2565 กับรายรับ ในปี 2562 แนวทางการแก้ไข ปรับตัวไปท าธุรกิจรูปแบบอื่น ปรับเปลี่ยนรูปแบบการท างาน ปรับเปลี่ยนกระบวนการขาย/ ให้บริการโดยการน าเทคโนโลยีเข้ามาใช้ ปรับรูปแบบการจ้างแรงงาน/พนักงาน หยุดกิจการชั่วคราว/ เปิดด าเนินกิจการบางส่วน 1.4% 4.7% 9.6% 27.8% 39.1% 18.9% ไม่ได้รับ 81.1% ได้รับ 40 ขยายตัวได้ดี เริ่มฟื้นหรือขยายตัวบ้าง แล้ว อยู่ในระดับทรงตัว ยังคงหดตัว ยังหดตัวมาก 0.7 % 9.1% 34.9 % 25.9% 29.4 % ก าลังซื้อยังคงอ่อนแอ 19.5% 2.9% 49.0% พฤติกรรมของผู้บริโภค เปลี่ยนแปลง 6.8% การขนส่ง/การเดินทาง ยังไม่กลับสู่ระดับปกติ 3.0% ลูกค้ามีการสั่งซื้อ จากประเทศอื่น ๆ มาตรการภาครัฐ ขาดแคลนแรงงาน 84.3%
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==