สำมะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม พ.ศ.2565 ธุรกิจทางการค้าและธุรกิจทางการบริการ จังหวัดเชียงใหม่

36 3.2.2 รายได้จากการดำเนินงาน ค่าใช้จ่ายขั้นกลาง และมูลค่าเพิ่ม • รายได้จากการดำเนินงาน เมื่อพิจารณารายได้จากการดำเนินงานในจังหวัด เชียงใหม่ พบว่า มีรายได้จากการ ดำเนินงานรวมทั้งสิ้น 230,465,274.1 พันบาท โดยสถานประกอบการที่มีขนาด 1 – 5 คน มีรายได้จากการ ดำเนินงานมากที่สุด คือ 71,491,184.4 พันบาท คิดเป็นร้อยละ 31.0 รองลงมาคือ สถานประกอบการ ที่ มีขนาด 6 – 15 คน มีรายได้จากการดำเนินงาน 57,719,734.3 พันบาท คิดเป็นร้ อยละ 25.0 และ สถานประกอบการที่มีขนาด 26 – 30 คน มีรายได้จาการดำเนินงานน้อยที่สุดคือ 7,655,249.4 พันบาท คิดเป็นร้อยละ 3.3 เมื่อพิจารณารายได้จากการดำเนินงานตามหมวดย่อยธุรกิจ พบว่า ธุรกิจการขายปลีก (ยกเว้นยานยนต์และจักรยานยนต์) มีรายได้จาการดำเนินงานมากที่สุด คือ 88,449,120.3 พันบาท คิดเป็น ร้อยละ 38.4 รองลงมาคือ ธุรกิจการขายส่ง (ยกเว้นยานยนต์และจักรยานยนต์) มีรายได้จากการดำเนินงาน 46,360,932.4 พันบาท คิดเป็นร้อยละ 20.1 และธุรกิจกิจกรรมการสร้างสรรค์ศิลปะและความบันเทิง มีรายได้ จากการดำเนินงานน้อยที่สุด คือ 13,733.5 พันบาท คิดเป็นร้อยละน้อยกว่า 0.0 • ค่าใช้จ่ายขั้นกลาง เมื่อพิจารณาค่าใช้จ่ายขั้นกลางในจังหวัดเชียงใหม่ พบว่า มีค่าใช้จ่ายขั้นกลางรวมทั้งสิ้น 161,731,372.8 พันบาท โดยสถานประกอบการที่มีขนาด 6 -15 คน มีค่าใช้จ่ายขั้ นกลางมากที่สุด คือ 41,145,968.7 พันบาท คิดเป็นร้อยละ 25.4 รองลงมาคือ สถานประกอบการที่มีขนาด 1 – 5 คน มีค่าใช้จ่าย ขั้ นกลาง 38,233,157.7 พันบาท คิดเป็นร้ อยละ 23.6 และสถานประกอบการที่ มีขนาด 26 – 30 คน มีค่าใช้จ่ายขั้นกลางน้อยที่สุดคือ 5,581,758.0 พันบาท คิดเป็นร้อยละ 3.5 เมื่อพิจารณาค่าใช้จ่ายขั้นกลางตามหมวดย่อยธุรกิจ พบว่า ธุรกิจการขายปลีก (ยกเว้น ยานยนต์และจักรยานยนต์) มีค่าใช้จ่ายขั้นกลางมากที่สุด คือ 64,836,948.7 พันบาท คิดเป็นร้อยละ 40.1 รองลงมาคือ ธุรกิจการขายส่ง (ยกเว้นยานยนต์และจักรยานยนต์) มีค่าใช้จ่ายขั้นกลาง 36,722,968.5 พันบาท คิดเป็นร้อยละ 22.7 และธุรกิจกิจกรรมการสร้างสรรค์ศิลปะและความบันเทิง มีค่าใช้จ่ายขั้นกลางน้อยที่สุด คือ 2,743.6 พันบาท คิดเป็นร้อยละน้อยกว่า 0.0 • มูลค่าเพิ่ม เมื่อพิจารณามูลค่าเพิ่มในจังหวัดเชียงใหม่ พบว่า มีมูลค่าเพิ่มรวมทั้งสิ้น 68 , 733 , 901.2 พันบาท โดยสถานประกอบการที่มีขนาด 1 – 5 คน มีมูลค่าเพิ่มมากที่สุด คือ 33,258,026.7 พันบาท คิดเป็น ร้อยละ 48.4 รองลงมาคือ สถานประกอบการที่มีขนาด 6 – 1 5 คน มีมูลค่าเพิ่ม 16,573,765.7 พันบาท คิดเป็นร้อยละ 24.1 และสถานประกอบการที่มีขนาด 26 – 30 คน มีมูลค่าเพิ่มน้อยที่สุดคือ 2,073,491.4 พันบาท คิดเป็นร้อยละ 3. 0 เมื่อพิจารณามูลค่าเพิ่มตามหมวดย่อยธุรกิจ พบว่า ธุรกิจการขายปลีก (ยกเว้นยานยนต์และ จักรยานยนต์) มีมูลค่าเพิ่มมากที่สุด คือ 23,612,171.5 พันบาท คิดเป็นร้อยละ 34 . 4 รองลงมาคือ ธุรกิจการ ขายส่ง (ยกเว้นยานยนต์และจักรยานยนต์) มีมูลค่าเพิ่ม 9,637,963.8 พันบาท คิดเป็นร้อยละ 14 . 0 และธุรกิจ การบริการสารสนเทศ มีมูลค่าเพิ่มน้อยที่สุดคือ 8,357.4 พันบาท คิดเป็นร้อยละน้อยกว่า 0.0

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==