สำมะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม พ.ศ. 2565 ธุรกิจทางการค้าและธุรกิจทางการบริการ: จังหวัดชุมพร
41 บทที่ 3 ผลการส ามะโน ปรับเปลี่ยน กระบวนการขาย/ให้บริการ โดยการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ 7.5% ปรับตัว ไปทำธุรกิจแบบอื่น 0.2% ปรับเปลี่ยนรูปแบบ การทำงาน 3.1% ปรับรูปแบบ การจ้างแรงงาน/พนักงาน 15.9% หยุดกิจการชั่วคราว/ เปิดดำเนินกิจการบางส่วน 36.3% 3.3.2 แนวทางการแก้ไขปัญหาของสถานประกอบการที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด 19 สถานประกอบการในจังหวัดชุมพรได้รับผลกระทบจากสถานการการแพร่ระบาดของเชื้อ ไวรัสโควิด 19 ได้รับผลกระทบ ร้อยละ 63.4 ไม่ได้รับผลกระทบ ร้อยละ 36.6 สถานประกอบการมีแนว ทางการแก้ไข โดยหยุดกิจการชั่วคราวหรือเปิดดำเนินกิจการบางส่วน ร้อยละ 36.3 รองลงมาเป็นปรับการปรับ รูปแบบการจ้างแรงงานหรือพนักงาน ร้อยละ 15.9 ปรับเปลี่ยนกระบวนการขาย หรือให้บริการโดยนำ เทคโนโลยีเข้ามาใช้ ร้อยละ 7.5 ปรับเปลี่ยนรูปแบบการทำงาน ร้อยละ 3.1 ปรับตัวไปทำธุรกิจอื่น ร้อยละ 0.2 และ อื่น ๆ ร้อยละ 4.6 3.3. 3 การฟื้นตัวของสถานประกอบการโดยเปรียบเทียบสัดส่วนรายได้ในปี 2565 กับรายได้ในปี 2562 (ปีก่อนเกิดสถานการณ์โควิด 19) การฟื้นตัวของสถานประกอบการโดยเปรียบเทียบสัดส่วนรายได้ในปี 2565 กับรายได้ในปี 2562 ปีก่อนเกิดสถานการณ์โควิด 19 โดยในปี 2565 เศรษฐกิจอยู่ในระดับทรงตัวมากที่สุด ร้อยละ 35. 1 รองลงมา ยังคงหดตัว ร้อยละ 23.7 ยังคงหดตัวมาก ร้อยละ 21.1 เริ่มฟื้นหรือขยายตัวบ้างแล้ว ร้อยละ 19.1 และขยายตัว ได้ดี มีเพียงเล็กน้อย ประมาณ ร้อยละ 1.0 เท่านั้น ในขณะที่เศรษฐกิจยังคงหดตัวมากที่สุดผู้บริโภคมีกำลังซื้ออ่อนลง ร้อยละ 92.0 รองลงมาคือ พฤติกรรมของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลงไป ร้อยละ 44.6 มาตรการของภาครัฐเข้ามามีผลกระทบร้อยละ 17.2 การขนส่งการเดินทางยังไม่กลับสู่สภวะปกติ ร้อยละ 7.1 ลูกค้ามีคำสั่งซื้อจากประเทศอื่น ร้อยละ 0.8 และขาดแคลน แรงงาน ร้อยละ 0.5 แนวทางการแก้ไข ไม่ได้รับ 36.6% ได้รับ 63.4% ภาพที่ 1 ร้อยละของสถานประกอบการจำแนกตามแนวทางการแก้ไขปัญหาของสถานประกอบการที่ได้รับ ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 อื่น ๆ 4.6 % หมายเหตุ : ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==