สำมะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม พ.ศ.2565 ธุรกิจทางการค้าและธุรกิจทางการบริการ จังหวัดลพบุรี

สำหรับในหมวดย่อยธุรกิจ พบว่า หมวดย่อยธุรกิจที่มีค่าใช้จ่ายขั้นกลางสูงสุด 3 อันดับแรก ได้ แก่ หมวดย่ อยธุ รกิ จการขายปลี ก ( ยกเว้ นยานยนต์ และจั กรยานยนต์ ) มีค่ าใช้ จ่ ายขั้ นกลางสู งสุด คือ 16,482,026.5 พันบาท ( ร้อยละ 47.8) รองลงมา หมวดย่อยธุรกิจการขายส่ง ( ยกเว้นยานยนต์และ จักรยานยนต์ ) มีค่าใช้จ่ายขั้นกลาง 8 ,632,868.9 พันบาท ( ร้อยละ 25.0) และหมวดย่อยธุรกิจการขายส่งและ การขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ มีค่าใช้จ่ายขั้นกลาง 6 ,313,153.4 พันบาท ( ร้อยละ 18.3 ) ตามลำดับ • มูลค่าเพิ่ม เมื่อพิจารณามูลค่าเพิ่มของสถานประกอบการจังหวัดลพบุรี พบว่า มีมูลค่าเพิ่มรวมทั้งสิ้น 13,241,974.0 พันบาท โดยสถานประกอบการที่ มีจำนวนคนทำงาน 1 - 5 คน มีมู ลค่ าเพิ่ มสู งสุด คือ 8,182,825.1 พันบาท ( ร้อยละ 61.8) รองลงมา สถานประกอบการที่มีจำนวนคนทำงาน 6 - 15 คน มีมูลค่าเพิ่ม 3,035,460.5 พันบาท ( ร้อยละ 22.9 ) สถานประกอบการที่มีจำนวนคนทำงาน 16 - 25 คน มีมูลค่าเพิ่ ม 650,447.8 พันบาท ( ร้อยละ 4.9) สถานประกอบการที่ มีจำนวนคนทำงาน 51 - 200 คน มีมูลค่าเพิ่ม 538,765.1 พันบาท ( ร้อยละ 4.1) สถานประกอบการที่มีจำนวนคนทำงานมากกว่า 200 คน มีมูลค่าเพิ่ ม 423,389.7 พันบาท ( ร้อยละ 3.2) สถานประกอบการที่ มีจำนวนคนทำงาน 31 - 50 คน มีมูลค่าเพิ่ม 327,553.5 พันบาท ( ร้อยละ 2.5) และสถานประกอบการที่มีจำนวนคนทำงาน 26 - 30 คน มีมูลค่าเพิ่ม 83,532.2 พันบาท ( ร้อยละ 0.6) ตามลำดับ สำหรับในหมวดย่อยธุรกิจ พบว่า หมวดย่อยธุรกิจที่มีมูลค่าเพิ่มมากสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ หมวดย่อยการขายปลีก ( ยกเว้นยานยนต์และจักรยานยนต์ ) มีมูลค่าเพิ่ ม 6,515,859.7 พันบาท ( ร้อยละ 49.2) รองลงมา หมวดย่อยธุรกิจการขายส่ง ( ยกเว้นยานยนต์และจักรยานยนต์ ) มีมูลค่าเพิ่ม 2,105,542.1 พันบาท ( ร้อยละ 15.9 ) และหมวดย่อยธุรกิจการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และ หมวดย่อยธุรกิจจักรยานยนต์ มีมูลค่าเพิ่ม 1,858,536.7 พันบาท ( ร้อยละ 14 .0) ตามลำดับ 38

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==