สำมะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม พ.ศ.2565 ธุรกิจทางการค้าและธุรกิจทางการบริการ จังหวัดแม่ฮ่องสอน

44 3. 3 .1 ระดับของผลกระทบที่สถานประกอบการได้รับจากสถานการณ์โควิด 19 เมื่อเปรียบเทียบสถานประกอบการ จำแนกตามระดับผลกระทบที่ได้รับจากสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 ใน ปี 2564 และ ปี 2565 พบว่า ผลกระทบจากรายได้/ยอด สั่งซื้อสินค้าลดลงอยู่ที่ระดับปานกลาง คือ ร้อยละ 42.1 และร้อยละ 46.7 ผลกระทบจากจำนวนลูกค้าลดลง อยู่ที่ระดับปานกลาง คือ ร้อยละ 50.3 และร้อยละ 43.7 ผลกระทบจากต้นทุนในการดำเนินธุรกิจสูงขึ้นอยู่ที่ ระดับมาก คือ ร้อยละ 49.6 และร้อยละ 40.1 ส่วนผลกระทบจากสภาพคล่องทางการเงินลดลงขึ้นอยู่ที่ระดับ ปานกลางและระดับมาก คือ ร้อยละ 43.8 และร้อยละ 40.3 สำหรับการชะลอการจ้างพนักงานใหม่ ไม่มี ผลกระทบ คือร้อยละ 81.2 และร้อยละ 81.1 การเลิกจ้างพนักงาน ไม่มีผลกระทบ คือ ร้อยละ 86.0 และ ร้อยละ 86. 2 และความล่าช้าในการขนส่งสินค้า ไม่มีผลกระทบ คือ ร้อยละ 55.1 และร้อยละ 56.0 ตามลำดับ ตาราง ฉ ร้อยละของสถานประกอบการ จำแนกตามระดับของผลกระทบที่ได้รับจากสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 ใน ปี 2564 และ ปี 2565 รายการ ระดับผลกระทบที่ได้รับ ปี 2564 ปี 2565 ไม่มี ผลกระทบ น้อย ที่สุด น้อย ปาน กลาง มาก มาก ที่สุด ไม่มี ผลกระทบ น้อย ที่สุด น้อย ปาน กลาง มาก มาก ที่สุด รายได้/ยอดสั่งซื้อสินค้าลดลง 1.3 0.0 2.9 42.1 39.6 14.1 1.1 0.1 4.0 46.7 35.9 12.2 จำนวนลูกค้าลดลง 0.0 0.8 3.8 50.3 30.5 14.6 0.0 0.8 9.4 43.7 31.9 14.2 ต้นทุนในการดำเนินธุรกิจสูงขึ้น 0.3 0.1 16.1 22.2 49.6 11.7 0.3 0.1 2.4 36.9 40.1 20.2 สภาพคล่องทางการเงินลดลง 1.2 0.9 7.7 43.8 37.0 9.5 0.9 0.7 26.0 24.6 40.2 7.5 ชะลอการจ้างพนักงานใหม่ 81.2 5.2 1.5 1.4 7.3 3.5 81.1 5.4 1.9 1.3 6.5 3.7ห เลิกจ้างพนักงาน 86.0 3.9 1.3 1.0 5.6 2.2 86.2 4.1 1.3 1.5 5.2 1.7 ความล่าช้าในการขนส่งสินค้า 55.1 8.9 16.7 9.1 8.5 1.7 56.0 8.8 17.0 8.3 8.0 1.9 3.3 ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==