สำมะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม พ.ศ.2565 ธุรกิจทางการค้าและธุรกิจทางการบริการ จังหวัดแม่ฮ่องสอน

45 บทที่ 3 ผลการสำมะโน ปรับเปลี่ยน กระบวนการขาย/ให้บริการ โดย การนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ 7.8% ปรับตัว ไปทำธุรกิจแบบอื่น 3.0% ปรับเปลี่ยน รูปแบบการทำงาน 1.1% ปรับรูปแบบ การจ้างแรงงาน/พนักงาน 14.3% หยุดกิจการชั่วคราว/ เปิดดำเนินกิจการบางส่วน 51.9% 3.3.2 แนวทางการแก้ไขปัญหาของสถานประกอบการที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด 19 สถานประกอบการธุรกิจฯ จังหวัดแม่ฮ่องสอน ร้อยละ 78.1 ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 และมีแนวทางการแก้ไข ดังนี้ หยุดกิจการชั่วคราว/เปิดดำเนินกิจการ บางส่วน ร้อยละ 51.9 รองลงมา ปรับรูปแบบการจ้างแรงงาน/พนักงาน ร้อยละ 14.3 ลำดับที่ 3 ปรับเปลี่ยน กระบวนการขาย/ให้บริการ โดยการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ ร้อยละ 7.8 ที่เหลือร้อยละ 4.1 ปรับตัวไปทำธุรกิจ แบบอื่น และปรับเปลี่ยนรูปแบบการทำงาน ตามลำดับ (ภาพที่ 1) ภาพที่ 1 ร้อยละของสถานประกอบการจำแนกตาม แนวทางการแก้ไขปัญหาของสถานประกอบการที่ได้รับ ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 3.3. 3 การฟื้นตัวของสถานประกอบการโดยเปรียบเทียบสัดส่วนรายรับในปี 2565 กับรายรับในปี 2562 (ปีก่อนเกิดสถานการณ์โควิด 19) การฟื้นตัวของสถานประกอบการโดยเปรียบเทียบสัดส่วนรายรับในปี 2565 กับรายรับในปี 2562 จังหวัดแม่ฮ่องสอน พบว่า ร้อยละ 30.9 อยู่ในระดับยังคงหดตัว เนื่องจาก กำลังซื้อยังคงอ่อนแอ พฤติกรรมของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลง มาตรการภาครัฐ การขนส่ง/การเดินทางยังไม่กลับสู่ระดับปกติ ขาดแคลน แรงงาน และลูกค้ามีการสั่งซื้อจากประเทศอื่น ๆ (ภาพที่ 2 ) ภาพที่ 2 ร้อยละของสถานประกอบการจำแนกตามการฟื้นตัวของสถานประกอบการโดยเปรียบเทียบ สัดส่วนรายรับในปี 2565 กับรายรับในปี 2562 แนวทางการแก้ไข ไม่ได้รับ 21.9% ได้รับ 78.1% เริ่มฟื้นหรือ ขยายตัวบ้างแล้ว 2.5 % อยู่ในระดับทรงตัว 50.2% ยังคงหดตัว 30.9% ยังหดตัวมาก 16.5% 88.0% 44.8% 12.2% 4.9% 3.5% 1.0% พฤติกรรมของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลง มาตรการภาครัฐ การขนส่ง/การเดินทางยังไม่กลับสู่ระดับปกติ ขาดแคลนแรงงาน และอื่นๆ ลูกค้ามีการสั่งซื้อจากประเทศอื่น ๆ กำลังซื้อยังคงอ่อนแอ

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==