สำมะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม พ.ศ. 2565 อุตสาหกรรมการผลิต จังหวัดนครปฐม

22 สามะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม พ.ศ. 2565 : อุตสาหกรรมการผลิต 3.2.2 มูลค่ำผลผลิต ค่ำใช้จ่ำยขั้นกลำง และมูลค่ำเพิ่ม 1) มูลค่ำผลผลิต จากตาราง 3.4 พบว่า สถานประกอบการอุตสาหกรรมการผลิตในจังหวัด นครปฐม มีมูลค่า ผลผลิตรวมทั้งสิ้นประมาณ 501,583,021.9 พันบาท โดยมีสัดส่วนของมูลค่าเพิ่มต่อมูลค่าผลผลิตประมาณ ร้อยละ 30.3 หากพิจารณาตามขนาดของสถานประกอบการ พบว่า สถานประกอบการที่มีคนทำงานมากกว่า 200 คน มีมูลค่าผลผลิตสูงสุดประมาณ 250,152,192.6 พันบาท หรือร้อยละ 49.9 รองลงมาเป็นสถานที่ ประกอบการที่มีคนทำงาน 51 – 200 คน มีมูลค่าผลผลิตประมาณ 169,655,016.0 พันบาท หรือร้อยละ 33.8 และสถานประกอบการที่มีคนทำงาน 31 – 50 คน มีมูลค่าผลผลิตประมาณ 34,208,918.6 พันบาท หรือร้อยละ 6.8 ตามลำดับ สำหรับสถานประกอบการที่มีคนทำงาน 1 – 5 คน มีมูลค่าผลผลิตต่ำสุด คือประมาณ 3,944,321.1 พันบาท หรือร้อยละ 0.8 เมื่อพิจารณาตามหมวดย่อยอุตสาหกรรมประเภทต่าง ๆ พบว่า มูลค่าผลผลิตของสถานประกอบการ ส่วนใหญ่มาจากอุตสาหกรรมการผลิตอาหารประมาณ 188,328,082.6 พันบาท หรือร้อยละ 37.5 รองลงมา เป็นอุตสาหกรรมการผลิตยางและพลาสติกมีมูลค่าผลผลิตประมาณ 69,829,329.9 พันบาท หรือร้อยละ 13.9 และอุตสาหกรรมการผลิตเครื่ องดื่ม มี มูลค่าผลผลิตประมาณ 39,675,240.0 พันบาท หรือร้อยละ 7.9 ตามลำดับ ส่วนอุตสาหกรรมการผลิตอื่ นๆ นอกจากที่ กล่าวข้างต้นมีมูลค่าผลผลิตไม่เกินร้อยละ 6.0 (ตาราง 3.4) 2)ค่ ำใช้จ่ำยขั้นกลำง ในด้านค่าใช้จ่ายขั้นกลางของสถานประกอบการอุตสาหกรรมการผลิตในจังหวัดนครปฐมมีมูลค่า ผลผลิตรวม มีมูลค่าผลผลิตรวมทั้งสิ้นประมาณ 349,573,348.8 พันบาท หากพิจารณาตามขนาดของสถานประกอบการ พบว่า สถานประกอบการที่มีคนทำงานมากกว่า 2 0 0 ค น ม ี ม ู ล ค ่ า ส ู ง ส ุ ด ค ื อ ป ร ะ ม า ณ 176,354,649.1 พ ั น บ า ท ห ร ื อ ร ้ อ ย ล ะ 50.4 ร อ ง ล ง ม า เ ป ็ น สถานประกอบการที่มีคนทำงาน 51 – 200 คน และ 31 – 50 คน มีประมาณร้อยละ 33.3 และ 6.7 ตามลำดับ ส่วนที่สถานประกอบการที่มีคนทำงาน 1 – 5 คน มมี ู ลค่าต่ำสุด คือประมาณร้อยละ 0.8 เมื่อพิจารณาตามหมวดย่อยอุตสาหกรรมประเภทต่าง ๆ พบว่า มูลค่าของค่าใช้จ่ายขั้นกลางของ สถานประกอบการ ส่วนใหญ่มาจากอุตสาหกรรมการผลิตผลิตภัณฑ์อาหารประมาณ 132,894,613.9 พันบาท หรือร้อยละ 38.0 รองลงมาเป็นอุตสาหกรรมการผลิตผลิตภัณฑ์ยางและพลาสติก มีมูลค่าของค่าใช้จ่าย ขั้นกลางประมาณ 49,129,333.5 พันบาท หรือร้อยละ 14.1 และการผลิตเครื่องดื่ม มีมูลค่าของค่าใช้จ่ายขั้น กลางประมาณ 27,990,058.2 พันบาท หรือ 8.0 ตามลำดับ สำหรับอุตสาหกรรมการผลิตหมวดอื่ นๆ นอกเหนือจากที่กล่าวข้างต้นมีมูลค่าของค่าใช้จ่ายขั้นกลางไม่เกินร้อยละ 6.0 (ตาราง 3.4)

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==