สำมะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม พ.ศ. 2565 อุตสาหกรรมการผลิต จังหวัดนครปฐม

3.3.3 กำรฟื้นตัวของสถำนประกอบกำรโดยเปรียบเทียบสัดส่วนรำยรับในปี 2565 กับรำยรับในปี 2562 (ปีก่อนเกิดสถำนกำรณ์โรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19) การฟื้นตัวของสถานประกอบการโดยเปรียบเทียบสัดส่วนรายรับในปี 2565 กับรายรับในปี 2562 (ปีก่อนเกิดสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19) พบว่า ร้อยละ 42.8 ยังอยู่ในระดับทรงตัว รองลงมายังคง หดตัวและหดตัวมาก อยู่ที่ร้อยละ 33.5 และร้อยละ 15.6 ตามลำดับ โดยอุปสรรคที่ทำให้สถานประกอบการ ไม่สามารถฟื้นตัวได้ ส่วนใหญ่ร้อยละ 89.5 เกิดจากกำลังซื้อที่อ่อนแอ รองลงมาคือ พฤติกรรมของผู้บริโภค เปลี่ยนแปลงร้อยละ 35.4 และลูกค้า/ผู้ค้ายังคงปิดโรงงาน ร้อยละ 19.7 ตามลำดับ (แผนภาพ 3.2) แผนภำพ 3.2 ร้อยละของกำรฟื้นตัวและอุปสรรคที่ทำให้ไม่สำมำรถฟื้นตัวของสถำนประกอบกำร โดยเปรียบเทียบ สัดส่วนรำยรับในปี 2565 กับรำยรับในปี 2562 (ปีก่อนเกิดสถำนกำรณ์โรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19) กาลังซื้อยังคงอ่อนแอ การขนส่ง/การเดินทางยังไม่กลับสู่ระดับปกติ ลูกค้า/ผู้ค้ายังคงปิดโรงงาน ขาดแคลนแรงงาน ลูกค้ามีการสั่งซื้อจากประเทศอื่น ๆ บ้าง ลูกค้าย้าย คาสั่งซื้อไปประเทศอื่นถาวร พฤติกรรมของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลง มาตรการภาครัฐ ตอบได้มากกว่า 1 คาตอบ ยังคงหดตัวมำก ยังคงหดตัว อยู่ในระดับทรงตัว ขยำยตัวได้ดี เริ่มฟื้นหรือขยำยตัวบ้ำง แล้ว อุปสรรคที่ทำให้ไม่สำมำรถฟื้นตัว 0.3% 7.9% 42.8% 33.5% 15.6% 89.5% 10.8% 19.7% 10.6% 4.3% 2.0% 35.4% 14.0% 30 สามะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม พ.ศ. 2565 : อุตสาหกรรมการผลิต

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==