สำมะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม พ.ศ. 2565 อุตสาหกรรมการผลิต จังหวัดปทุมธานี

ส ามะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม พ.ศ. 2565 : อุตสาหกรรมการผลิต บทที่ 3 ผลการส ามะโน 30 มีมูลค่า 3,474.2 พันบาท สถานประกอบการที่มีขนาดคนทำงาน 51 - 200 คน มีมูลค่า 2,720.9 พันบาท สถานประกอบการที่มีขนาดคนทำงาน 16 - 25 คน มีมูลค่า 2,052.2 พันบาท สถานประกอบการที่มีขนาด คนทำงาน 11 - 15 คน มีมูลค่า 1,761 พันบาท สถานประกอบการที่มีขนาดคนทำงาน 6 - 10 คน 1 , 338.4 พันบาท และสถานประกอบการที่มีขนาดคนทำงาน 1 - 5 คน มีมูลค่า 921.5 พันบาท ตามลำดับ มูลค่าเพิ่มเฉลี่ยต่อคนทำงาน จากการรวบรวมข้อมูลพิจารณาจากขนาดของสถานประกอบการ พบว่า ส่วนใหญ่เป็นสถานประกอบการที่มีขนาดคนทำงาน 26 – 3 0 คน มีมูลค่า 1 , 191 พันบาท รองลงมาเป็นสถาน ประกอบการที่มีขนาดคนทำงาน 31 - 50 คน มีมูลค่า 1 , 078.2 พันบาท สถานประกอบการที่มีขนาดคนทำงาน มากกว่า 200 คน มีมูลค่า 911.2 พันบาท สถานประกอบการที่มีขนาดคนทำงาน 51 - 200 คน มีมูลค่า 893.7 พั นบาท สถานประกอบการที่ มี ขนาดคนทำงาน 16 - 25 คน มี มู ลค่ า 703.9 พั นบาท สถานประกอบการที่มีขนาดคนทำงาน 11 - 15 คน มีมูลค่า 653.6 พันบาท สถานประกอบการที่มีขนาด คนทำงาน 6 - 10 คน มีมูลค่า 456.4 และสถานประกอบการที่มีขนาดคนทำงาน 1 - 5 คน มีมูลค่า 359.9 พัน บาท ตามลำดับ มูลค่าผลผลิตเฉลี่ยต่อคนทำงาน เมื่อพิจารณาจากหมวดย่อยอุตสาหกรรมการผลิต พบว่า ส่วนใหญ่มา จาก อุตสาหกรรมการผลิตถ่านโค้กและผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม มีมูลค่า 6,651.5 พันบาท รองลงมาเป็นอุตสาหกรรมการผลิตอุปกรณ์ขนส่งอื่นๆ มีมูลค่า 4,620.7 พันบาท อุตสาหกรรมการผลิต เครื่ องจักรและเครื่องมือ ซึ่ งมิได้จัดประเภทไว้ในที่อื่น มีมูลค่า 4,275.7 พันบาท อุตสาหกรรมการผลิต ผลิตภัณฑ์คอมพิวเตอร์ อิเล็กทรอนิกส์ และอุปกรณ์ ที่ ใช้ในทางทัศนศาสตร์ มีมูลค่า 4,229.7 พันบาท อุตสาหกรรมการผลิตโลหะขั้นมูลฐาน มีมูลค่า 4,200.4 พันบาท อุตสาหกรรมการผลิตอุปกรณ์ไฟฟ้า มีมูลค่า 4,072.2 พันบาท อุตสาหกรรมการผลิตผลิตภัณฑ์อาหาร มีมูลค่า 3,948.9 พันบาท อุตสาหกรรมการผลิต ผลิตภัณฑ์อื่นๆ มีมูลค่า 3,708.8 พันบาท อุตสาหกรรมการเก็บรวบรวมของเสีย การบำบัด และการกำจัดของ เสีย รวมถึงการนำของเสียกลับมาใช้ใหม่ มีมูลค่า 3,561 พันบาท อุตสาหกรรมการผลิตผลิตภัณฑ์ยางและ พลาสติก มีมูลค่า 3,272.10 พันบาท และหมวดย่อยอุตสาหกรรมอื่นๆนอกเหนือจากที่กล่าวมาข้างต้น เป็นอุตสาหกรรมที่มีมูลค่าน้อยกว่า 3,2000 พันบาท (ตาราง 3.5) มูลค่าเพิ่มเฉลี่ยต่อคนทำงาน เมื่อพิจารณาตามหมวดย่อยอุตสาหกรรม พบว่า ส่วนใหญ่มาจาก อุตสาหกรรมการผลิตถ่านโค้กและผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม มีมูลค่า 1 , 786.2 พันบาท รองลงมาเป็น อุตสาหกรรมการผลิตโลหะขั้นมูลฐาน มีมูลค่า 1 , 241.1 พันบาท อุตสาหกรรมการผลิตผลิตภัณฑ์อื่นๆ มีมูลค่า 1 , 228.2 พันบาท อุตสาหกรรมการผลิตผลิตภัณฑ์อาหาร มีมูลค่า 1 , 149.1 พันบาท อุตสาหกรรมการผลิต ผลิตภัณฑ์ยางและพลาสติก มีมูลค่า 1 , 066.4 พันบาท อุตสาหกรรมการผลิตผลิตภัณฑ์คอมพิวเตอร์ อิเล็กทรอนิกส์ และอุปกรณ์ ที่ใช้ในทางทัศนศาสตร์ มีมูลค่า 1 , 008.9 พันบาท อุตสาหกรรมการผลิตเครื่องดื่ม มีมูลค่า 1 , 001.8 พันบาท อุตสาหกรรมการเก็บรวบรวมของเสีย การบำบัด และการกำจัดของเสีย รวมถึงการนำ ของเสียกลับมาใช้ใหม่ มีมูลค่า 970.2 พันบาท อุตสาหกรรมการผลิตเครื่องจักรและเครื่องมือ ซึ่งมิได้จัดประเภท ไว้ในที่อื่น มีมูลค่า 967.3 พันบาท อุตสาหกรรมการผลิตอุปกรณ์ไฟฟ้า มีมูลค่า 963.9 พันบาท และหมวดย่อย อุตสาหกรรมอื่นๆนอกเหนือจากที่กล่าวมาข้างต้น เป็นอุตสาหกรรมที่มีมูลค่าน้อยกว่า 950 พันบาท (ตาราง 3.5)

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==