สำมะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม พ.ศ. 2565 อุตสาหกรรมการผลิต จังหวัดสมุทรปราการ

บทที่ 3 ผลการสำมะโน 21 ขนาดของสถานประกอบการ/ หมวดย่อยอุตสาหกรรม มูลค่าผลผลิต ค่าใช้จ่ายขั้นกลาง มูลค่าเพิ่ม มูลค่าเพิ่ม ต่อมูลค่า ผลผลิต (ร้อยละ) มูลค่า (พันบาท) ร้อยละ มูลค่า (พันบาท) ร้อยละ มูลค่า (พันบาท) ร้อยละ รวม 1,764,182,506.2 100 . 0 1,265,430,336.5 100 . 0 498,752,169.7 100 . 0 28.3 การซ่อมและการติดตั้งเครื่องจักรและ อุปกรณ์ 17,244,012.9 1.0 11,805,913.5 0.9 5,438,099.4 1.1 31.5 การจัดการน้ำเสีย 410,797.2 - 248,974.5 - 161,822.7 - 39.4 การเก็บรวบรวมของเสีย การบำบัด และการกำจัดของเสีย รวมถึงการนำ ของเสียกลับมาใช้ใหม่ 2,125,008.0 0.1 1,447,586.7 0.1 677,421.3 0.1 31.9 การจัดพิมพ์จำหน่ายหรือเผยแพร่ 39,180.5 - 24,430.9 - 14,749.6 - 37.6 หมายเหตุ :- ไม่มีข้อมูล หรือข้อมูลมีค่าเป็น 0 หรือมีข้อมูลจำนวนน้อย 3 . 2 .3 มูลค่าผลผลิตและมูลค่าเพิ่มเฉลี่ยต่อสถานประกอบการ สถานประกอบการอุตสาหกรรมการผลิตในจังหวัดสมุทรปราการ มีมูลค่าผลผลิตต่อสถานประกอบการ ประมาณ 190 .1 ล้านบาท และมูลค่าเพิ่มเฉลี่ยต่อสถานประกอบการประมาณ 53.7 ล้านบาท ( ตาราง 3.5 ) หากพิจารณาตามขนาดของสถานประกอบการ พบว่า มูลค่าผลผลิต และมูลค่าเพิ่ มเฉลี่ ยต่อ สถานประกอบการจะแปรผันตามขนาดของกิจการ กล่าวคือ สถานประกอบการที่มีคนทำงาน 1 – 5 คน มีมูลค่าผลผลิต ประมาณ 3 .4 ล้านบาท และมูลค่าเพิ่มเฉลี่ยต่อสถานประกอบการน้อยที่สุด คือ ประมาณ 1.3 ล้านบาท ในขณะที่สถานประกอบการที่มีคนทำงานมากกว่า 200 คน มีมูลค่าเพิ่มมากที่สุด คือ ประมาณ 1 , 851 ล้านบาท และมูลค่าเพิ่มเฉลี่ยมากที่สุด คือประมาณ 450 .5 ล้านบาท เมื่อพิจารณาในแต่ละหมวดย่อยอุตสาหกรรม พบว่า อุตสาหกรรมการผลิตผลิตภัณฑ์คอมพิวเตอร์ อิเล็กทรอนิกส์ และอุปกรณ์ที่ใช้ในทางทัศนศาสตร์มากที่สุด ประมาณ 1 , 02 9.0 ล้านบาท และมูลค่าเพิ่มเฉลี่ย ต่อสถานประกอบการมากที่สุด 279 .3 ล้านบาท สำหรับอุตสาหกรรมการจัดพิมพ์จำหน่ายหรือเผยแพร่ มีมูลค่าผลผลิตเฉลี่ยต่อสถานประกอบการน้อยที่สุด คือ ประมาณ 6 . 5 ล้านบาท ในขณะที่การจัดพิมพ์จำหน่าย หรือเผยแพร่ มีมูลค่าเพิ่มเฉลี่ยต่อสถานประกอบการน้อยที่สุดประมาณ 2 .5 ล้านบาท (ตาราง 3.5) 3 . 2 .4 มูลค่าผลผลิตและมูลค่าเพิ่มเฉลี่ยต่อคนทำงาน ในด้านมูลค่าผลผลิตและมูลค่าเพิ่มเฉลี่ยต่อคนทำงาน พบว่า สถานประกอบการอุตสาหกรรมการผลิต มีมูลค่าผลผลิตประมาณ 3.3 ล้านบาท และมูลค่าเพิ่มเฉลี่ยต่อคนทำงาน ประมาณ 0. 9 ล้านบาท เมื่อพิจารณาตามขนาดของสถานประกอบการ พบว่า อุตสาหกรรมการผลิตที่มีคนทำงานมากกว่า 200 คน มีมูลค่าผลผลิตเฉลี่ยต่อคนทำงานสูงที่สุด คือ ประมาณ 3 . 6 ล้านบาท และสถานประกอบการ ที่มีคนทำงาน 3 1 – 50 คน มีมูลค่าเพิ่มเฉลี่ยต่อคนทำงานสูงที่สุด คือ ประมาณ 1 .2 ล้านบาท ในขณะที่ สถานประกอบการขนาดเล็กที่มีคนทำงาน 1 – 5 คน มีมูลค่าผลผลิตต่ำที่สุด ประมาณ 1.3 ล้านบาท และ มูลค่าเพิ่มเฉลี่ยต่อคนทำงานต่ำที่สุด คือ ประมาณ 0.5 ล้านบาท เมื่อพิจารณาตามหมวดย่อยอุตสาหกรรม พบว่า ด้านมูลค่าผลผลิตและมูลค่าเพิ่มเฉลี่ยต่อคนทำงาน ในแต่ละหมวดย่อยอุตสาหกรรม พบว่า อุตสาหกรรมการผลิตการผลิตถ่านโค้กและผลิตภัณฑ์ที่ได้จาก การกลั่นปิโตรเลียมมีมูลค่าผลผลิตสูงสุด ประมาณ 8 . 6 ล้านบาท และมูลค่าเพิ่มเฉลี่ยต่อคนทำงานสูงที่สุด ประมาณ 1 , 02 9.0 ล้านบาท ส่วนสถานประกอบการอุตสาหกรรมการจัดพิมพ์จำหน่ายหรือเผยแพร่ มีมูลค่า ผลผลิตน้อยที่สุด ประมาณ 0. 6 ล้านบาท และมูลค่าเพิ่มเฉลี่ยต่อคนทำงานน้อยที่สุด ประมาณ 6 . 5 ล้านบาท (ตาราง 3.5)

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==