สำมะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม พ.ศ. 2565 อุตสาหกรรมการผลิต จังหวัดสมุทรปราการ
บทที่ 3 ผลการสำมะโน 23 3 .3 ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 3 . 3 .1 ระดับของผลกระทบที่สถานประกอบการได้รับจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโควิด 19 เมื่อพิจารณาระดับของผลกระทบที่สถานประกอบการได้รับจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค ติดเชื้อไวรัสโควิด 19 พบว่าในปี 2564 สถานประกอบการส่วนใหญ่ได้รับผลกระทบอยู่ในระดับมาก ได้แก่ รายได้/ยอดสั่งซื้อสินค้าลดลง คิดเป็นร้อยละ 48.9 รองลงมาคือ จำนวนลูกค้าลดลงและสภาพคล่องทาง การเงินลดลง ร้อยละ 37.4 และลดการผลิตสินค้า ร้อยละ 24.0 ในส่วนปี 2565 ได้รับผลกระทบที่สถานประกอบการได้รับจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติด เชื้อไวรัสโควิด 19 ส่วนใหญ่ได้รับผลกระทบอยู่ในระดับปานกลาง ได้แก่ จำนวนลูกค้าลดลง คิดเป็นร้อยละ 4 8.4 รองลงมาคือ สภาพคล่องทางการเงินลดลง ร้ อยละ 46.5 และลดการผลิตสินค้า ร้ อยละ 44.8 (ตาราง 3.6) ตาราง 3.6 ร้อยละของสถานประกอบการ จำแนกตามระดับของผลกระทบที่ได้รับจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 ในปี 2564 และปี 2565 รายการ ระดับผลกระทบที่ได้รับ ปี 2564 ปี 2565 ไม่มีผล กระทบ น้อย ที่สุด น้อย ปาน กลาง มาก มาก ที่สุด ไม่มีผล กระทบ น้อย ที่สุด น้อย ปาน กลาง มาก มาก ที่สุด รายได้/ยอดสั่งซื้อสินค้าลดลง 3.4 2.7 10.5 33.0 37.4 13.0 4.2 3.1 13.0 48.4 23.9 7.4 สภาพคล่องทางการเงินลดลง 3.6 1.9 11.7 30.7 37.4 14.7 4.0 3.5 13.0 46.5 24.3 8.7 ชะลอการจ้างพนักงานใหม่ 14.2 6.6 30.1 29.2 10.9 9.0 15.3 12.7 31.5 26.8 6.6 7.1 เลิกจ้างพนักงาน 30.8 28.1 24.2 9.9 3.8 3.2 31.8 35.0 18.7 8.3 3.4 2.8 ลดการผลิตสินค้า 7.2 4.9 16.5 38.9 24.0 8.5 7.5 8.2 23.1 44.8 11.6 4.8 ความล่าช้าในการขนส่งสินค้า 9.7 13.8 35.3 28.7 9.1 3.4 13.2 21.4 33.7 24.1 4.8 2.8 ขาดแคลนวัตถุดิบ 8.9 14.0 31.7 33.7 8.3 3.4 12.7 18.9 32.4 26.2 6.0 3.8 การขยายการลงทุนทำได้ล่าช้า 14.1 15.1 25.1 27.3 12.7 5.7 19.1 16.4 31.6 18.4 10.3 4.2 อื่นๆ 94.2 0.9 0.8 2.1 1.1 0.9 94.8 0.5 0.9 1.5 1.4 0.9
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==