สำมะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม พ.ศ. 2565 อุตสาหกรรมการผลิต จังหวัดสมุทรปราการ

บทที่ 3 ผลการสำมะโน 25 3 . 3 .3 การฟื้นตัวของสถานประกอบการโดยเปรียบเทียบสัดส่วนรายรับในปี 2565 กับรายรับในปี 2562 (ปีก่อนเกิดสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19) เมื่อเปรียบเทียบผลจากสำมะโนอุตสาหกรรม พ.ศ. 2562 กับปี 256 5 ซึ่งเป็นข้อมูลของการการฟื้นตัว ของสถานประกอบการโดยเปรียบเทียบสัดส่วนรายรับในปี 2565 กับรายรับในปี 2562 (ปีก่อนเกิดสถานการณ์ โรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19) สำหรับอุปสรรคที่ทำให้ไม่สามารถฟื้นตัวของสถานประกอบการอุตสาหกรรม การผลิตในจังหวัดสมุทรปราการ ส่วนใหญ่กำลังซื้อยังคงอ่อนแอ ร้อยละ 89.3 พฤติกรรมของผู้บริ โภค เปลี่ ยนแปลง ร้อยละ 35.5 มาตรการภาครัฐ ร้อยละ 18.1 ลูกค้า/ผู้ ค้ายังคงปิดโรงงาน ร้อยละ 17.6 การขนส่ง/การเดินทางยังไม่กลับสู่ระดับปกติ ร้อยละ 16.3 และขาดแคลนแรงงาน ร้อยละ 12.5 ด้านอื่นๆ เช่น ลูกค้ามีการสั่งซื้อจากประเทศอื่นๆบ้าง ลูกค้าย้ายคำสั่งซื้อไปประเทศอื่นถาวร ฯลฯ (แผนภาพ 3.2) แผนภาพ 3.2 ร้อยละของการฟื้นตัวและอุปสรรคที่ทำให้ไม่สามารถฟื้นตัวของสถานประกอบการ โดยเปรียบเทียบ สัดส่วนรายรับในปี 2565 กับรายรับในปี 2562 (ปีก่อนเกิดสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19) อุปสรรคที่ทำให้ไม่สามารถฟื้นตัว 89.3 % 35.5 % 18.1% 17.6 % 16.3 % % 12.5 % % 6.1 % 3.8% กำลังซื้อยังคงอ่อนแอ พฤติกรรมของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลง มาตรการภาครัฐ ลูกค้า/ผู้ค้ายังคงปิดโรงงาน การขนส่ง/การเดินทางยังไม่กลับสู่ระดับปกติ ขาดแคลนแรงงาน ลูกค้ามีการสั่งซื้อจากประเทศอื่นๆบ้าง ลูกค้าย้ายคำสั่งซื้อไปประเทศอื่นถาวร ตอบได้มากกว่า 1 คำตอบ 1.1 % 6.4 % 20.1 % 61.7 % 10.7 % ยังคงหดตัวมาก ยังคงหดตัว อยู่ในระดับทรงตัว ขยายตัวได้ดี เริ่มฟื้นหรือขยายตัวบ้างแล้ว

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==