สำมะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม พ.ศ. 2565 ธุรกิจทางการค้าและธุรกิจทางการบริการ: จังหวัดนครนายก

โครงการสำมะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม พ . ศ . 2565 : ธุรกิจทางการค้าและธุรกิจทางการบริการ วิธีการประมาณผล ระดับจังหวัด การเสนอผลการสำรวจ ได้เสนอผลในระดับจังหวัด โดยจำแนกตามการประกอบกิจกรรมทาง เศรษฐกิจตามการจัดประเภทมาตรฐานอุตสาหกรรมประเทศไทย ปี 2552 ( Thailand Standard Industrial Classification : TSIC 2009 ) ในระดับหมวดย่อย และขนาดของสถานประกอบการ ซึ่งวัดด้วยจำนวนคนทำงาน 8 ขนาด (จากขนาดย่อยของสถานประกอบการ 12 ขนาด) ดังนี้ ขนาดของสถานประกอบการ 1 2 3 4 5 6 7 8 จำนวนคนทำงาน 1- 5 6- 10 11-15 16-25 26-30 31-50 51-200 > 200 ในการประมาณค่า กำหนดให้ q = 1 , 2 , 3 , … , ′ (สถานประกอบการตัวอย่าง) p = 1 , 2 , 3 , … , 12 (ขนาดย่อยของสถานประกอบการ) m = 1 , 2 , 3 , … , 309 (กิจกรรม) l = 1 , 2 , 3 , … , 124 (หมู่ย่อย) k = 1 , 2 , 3 , … , 75 (หมู่ใหญ่) j = 1 , 2 , 3 , … , 27 (หมวดย่อย 1. การประมาณค่ายอดรวม 1.1 สูตรการประมาณค่ายอดรวมของลักษณะที่ต้องการศึกษา X สำหรับสถานประกอบการที่มีขนาดย่อย ของสถานประกอบการ p หมวดย่อย j คือ ̂ ′ = ∑∑∑ ̂ ′ 309 =1 124 =1 75 =1 โดยที่ ̂ ′ คือ ค่าประมาณยอดรวมของลักษณะที่ต้องการศึกษา X สำหรับสถานประกอบการที่มี ขนาดย่อยของสถานประกอบการ p กิจกรรม m หมู่ย่อย l หมู่ใหญ่ k หมวดย่อย j ซึ่ง ̂ ′ = ′ ∑ ′ =1 คือ ค่าของลักษณะที่ต้องการศึกษา X ของสถานประกอบการตัวอย่าง q ขนาดย่อยของ สถานประกอบการ p กิจกรรม m หมู่ย่อย l หมู่ใหญ่ k หมวดย่อย j ′ คือ ค่าถ่วงน้ำหนักสำหรับสถานประกอบการที่มีขนาดย่อยของสถานประกอบการ p กิจกรรม m หมู่ย่อย l หมู่ใหญ่ k หมวดย่อย j ′ = ′ ′ ′ คือ จำนวนสถานประกอบการทั้งสิ้น สำหรับสถานประกอบการที่มีขนาดย่อย ของสถานประกอบการ p กิจกรรม m หมู่ย่อย l หมู่ใหญ่ k หมวดย่อย j ′ คือ จำนวนสถานประกอบการที่แจงนับได้ทั้งสิ้น สำหรับสถานประกอบการที่มีขนาดย่อย

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==