สำมะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม พ.ศ.2565 ธุรกิจทางการค้าและธุรกิจทางการบริการ จังหวัดนครปฐม

บทที่ 3 ผลการส ามะโน ตาราง จ รายได้จากการดำเนินงาน มูลค่าเพิ่มเฉลี่ยต่อสถานประกอบการ และต่อคนทำงาน จำแนกตามขนาดของสถานประกอบการและหมวดย่อยธุรกิจ (ต่อ) 3. 3 .1 ระดับของผลกระทบที่สถานประกอบการได้รับจากสถานการณ์โควิด 19 จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด19 ส่งผลให้สถานประกอบการ ในจังหวัดนครปฐม ได้รับผลกระทบในหลายๆ ด้าน โดยในปี 2564 สถานประกอบการส่วนมากได้รับ ผลกระทบในระดับมากจากรายได้ / ยอดสั่งซื้อสินค้าลดลง (ร้อยละ 40.6) ผลกระทบจากจำนวนลูกค้าลดลง (ร้อยละ 37.0) ต้นทุนในการดำเนินธุรกิจสูงขึ้น และสภาพคล่องทางการเงินลดลง (ร้อยละ 35.2 และ 30.1) ตามลำดับโดยสถานประกอบการส่วนใหญ่มากกว่าร้อยละ 60.0 ไม่มีผลกระทบจากการเลิกจ้างพนักงาน การชะลอการจ้างพนักงานใหม่ รวมถึงความล่าช้าในการขนส่งสินค้า สำหรับในปี 2565 สถานประกอบการส่วนใหญ่ยังคงได้รับผลกระทบในระดับมากจาก ต้นทุนในการดำเนินธุรกิจสูงขึ้น (ร้อยละ 32.7) จากรายได้/ยอดสั่งซื้อสินค้าลดลง (ร้อยละ 32.6 ) และ ผลกระทบจากสภาพคล่องทางการเงินลดลง (ร้อยละ 26.5 ) และสถานประกอบการมากกว่าร้อยละ 65 .0 ไม่มี ผลกระทบจากการเลิกจ้างพนักงาน การชะลอการจ้างพนักงานใหม่ และความล่าช้าในการขนส่งสินค้า (ตาราง ฉ) ขนาดของสถานประกอบการ/ หมวดย่อยธุรกิจ รายได้จากการดำเนินงานเฉลี่ย มูลค่าเพิ่มเฉลี่ย ต่อสถาน- ประกอบการ ต่อคนทำงาน ต่อสถาน - ประกอบการ ต่อคนทำงาน หมวดย่อยธุรกิจ การบริการด้านการบริหารและสนับสนุนการดำเนินงาน ของสำนักงาน และกิจกรรมอื่นๆ ที่สนับสนุนทางธุรกิจ 2,351 . 7 683 . 4 927 . 8 269 . 6 กิจกรรมการสร้างสรรค์ศิลปะและความบันเทิง 337 . 3 88 . 4 167 . 2 43 . 8 กิจกรรมการพนันและการเสี่ยงโชค 1,094 . 9 479 . 0 213 . 9 93 . 6 กิจกรรมด้านการกีฬาความบันเทิงและการนันทนาการ 3,957 . 0 724 . 8 2,496 . 3 457 . 3 การซ่อมคอมพิวเตอร์และของใช้ส่วนบุคคลและของใช้ในครัวเรือน 318 . 0 195 . 8 151 . 1 93 . 1 กิจกรรมบริการส่วนบุคคลอื่นๆ 272 . 9 143 . 4 115 . 3 60 . 6 3 . 3 ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 หน่วย : พัน บาท 41

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==