สำมะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม พ.ศ.2565 ธุรกิจทางการค้าและธุรกิจทางการบริการ จังหวัดนครปฐม

ปรับเปลี่ยน กระบวนการขาย/ให้บริการ โดยการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ 12.1% ปรับตัว ไปทำธุรกิจแบบอื่น 1.2% ปรับเปลี่ยนรูปแบบ การทำงาน 1.0% ปรับรูปแบบ การจ้างแรงงาน/พนักงาน 13.3% หยุดกิจการชั่วคราว/ เปิดดำเนินกิจการบางส่วน 39.6% ตาราง ฉ ร้อยละของสถานประกอบการ จำแนกตามระดับของผลกระทบที่ได้รับจากสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 ใน ปี 2564 และ ปี 2565 รายการ ระดับผลกระทบที่ได้รับ ปี 2564 ปี 2565 ไม่มี ผลกระทบ น้อย ที่สุด น้อย ปาน กลาง มาก มาก ที่สุด ไม่มี ผลกระทบ น้อย ที่สุด น้อย ปาน กลาง มาก มาก ที่สุด รายได้/ยอดสั่งซื้อ สินค้าลดลง 1 . 0 1 . 9 4 . 4 18 . 6 40 . 6 33 . 5 1 . 9 2 . 1 9 .0 28 . 9 32 . 6 25 . 5 จำนวนลูกค้าลดลง 2.1 2.6 5.2 19.9 37.0 33.2 2.1 2.0 10.1 31.9 28.8 25.1 ต้นทุนในการดำเนิน ธุรกิจสูงขึ้น 1.7 1.7 6.4 20.5 35.2 34.5 2.4 1.3 7.5 24.5 32.7 31.6 สภาพคล่องทาง การเงินลดลง 4.8 8.6 13.4 19.9 30.1 23.2 8.0 5.8 15.7 26.4 26.5 17.6 ชะลอการจ้าง พนักงานใหม่ 63.0 6.7 4.1 6.6 10.2 9.4 65.2 7.3 4.1 6.5 8.3 8.6 เลิกจ้างพนักงาน 69.4 7.9 5.0 8.3 2.7 6.7 72.3 9.0 3.2 5.5 4.2 5.8 ความล่าช้าใน การขนส่งสินค้า 63.2 7.4 8.1 7.5 7.1 6.7 67.3 9.4 5.1 6.0 7.3 4.9 3.3.2 แนวทางการแก้ไขปัญหาของสถานประกอบการที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด 19 จากสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 ส่งผลให้สถานประกอบการธุรกิจฯ ส่วนใหญ่ได้รับผลกระทบ ร้อยละ 64.3 โดยในจำนวนนี้มีแนวทางในการแก้ไขปัญหาโดยการหยุดกิจการ ชั่วคราว/เปิดดำเนินกิจการบางส่วน ร้อยละ 39.6 รองลงมาเป็นปรับรูปแบบการจ้างงาน/พนักงาน ร้อยละ 13.3 ปรับเปลี่ยนกระบวนการขาย/ให้บริการโดยการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ ร้อยละ 12.1 ที่เหลือร้อยละ 1.2 และ 1.0 ปรับตัวไปทำธุรกิจแบบอื่น และปรับเปลี่ยนรูปแบบการทำงาน โดยสถานประกอบการที่เหลือร้อยละ 35.7 ไม่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 (ภาพที่ 1) แนวทางการแก้ไข ไม่ได้รับ 35.7% ได้รับ 64.3% ภาพที่ 1 ร้อยละของสถานประกอบการจำแนกตามแนวทางการแก้ไขปัญหาของสถานประกอบการที่ได้รับ ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 42

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==