สำมะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม พ.ศ.2565 ธุรกิจทางการค้าและธุรกิจทางการบริการ จังหวัดนครปฐม

บทที่ 3 ผลการส ามะโน 3.3. 3 การฟื้นตัวของสถานประกอบการโดยเปรียบเทียบสัดส่วนรายรับในปี 2565 กับรายรับในปี 2562 (ปีก่อนเกิดสถานการณ์โควิด 19) ในปี 2565 ยังคงมีสถานประกอบการ ร้อยละ 44.5 ที่ให้ข้อมูลว่า ยังคงมีสัดส่วนรายรับ ที่ทรงตัวเมื่อเทียบกับรายรับในช่วงก่อนการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด 19 ในปี 2562 (ปีก่อนเกิด สถานการณ์โควิด 19) รองลงมา คือ อยู่ในระดับยังคงหดตัว ร้อยละ 34.7 และยังคงหดตัวมาก ร้อยละ 14.4 ในขณะที่สถานประกอบการเริ่มฟื้นตัวหรือขยายตัวบ้างแล้วมีร้อยละ 6.3 ส่วนสถานประกอบการที่ขยายตัว ได้ดีมีจำนวนเล็กน้อยเพียง ร้อยละ 0.1 โดยผู้ประกอบการธุรกิจให้ข้อมูลถึงอุปสรรคที่ทำให้ไม่สามารถฟื้นตัวได้ว่า ร้อยละ 88.9 เกิด จากกำลังซื้อยังคงอ่อนแอ รองลงมาร้อยละ 44.5 เกิดจากพฤติกรรมผู้บริโภคเปลี่ยนแปลง ร้อยละ 17.4 เกิด จากมาตรการภาครัฐ ร้อยละ 5.2 เกิดจากการขนส่ง/การเดินทางยังไม่กลับสู่ระดับปกติ และร้อยละ 3.7 เกิด จากการขาดแคลนแรงงาน ( ภาพที่ 2) - หมายเหตุ : ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ ขยายตัวได้ดี 0.1 % เริ่มฟื้นหรือ ขยายตัวบ้างแล้ว 6 . 3 % อยู่ในระดับทรงตัว 44 . 5 % ยังคงหดตัว 34 . 7 % ยังหดตัวมาก 14 . 4 % 88 . 9 % 44 . 5 % 17 . 4 % 5 . 2 % 3 . 7 % 1 . 2 % พฤติกรรมของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลง มาตรการภาครัฐ การขนส่ง/การเดินทางยังไม่กลับสู่ระดับ ปกติ ขาดแคลนแรงงาน ลูกค้ามีการสั่งซื้อจากประเทศอื่น ๆ กำลังซื้อยังคงอ่อนแอ ภาพที่ 2 ร้อยละของสถานประกอบการจำแนกตามการฟื้นตัวของสถานประกอบการโดยเปรียบเทียบสัดส่วน รายรับในปี 2565 กับรายรับในปี 2562 43

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==