สำมะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม พ.ศ.2565 ธุรกิจทางการค้าและธุรกิจทางการบริการ จังหวัดนครสวรรค์

42 3.3. 3 การฟื้นตัวของสถานประกอบการโดยเปรียบเทียบสัดส่วนรายรับในปี 2565 กับรายรับในปี 2562 (ปีก่อนเกิดสถานการณ์โควิด 19) เมื่อพิจารณาการฟื้นตัวของสถานประกอบการทางธุรกิจทางการค้าและธุรกิจทางการบริการ จังหวัดนครสวรรค์ โดยเปรียบเทียบสัดส่วนรายรับในปี 2565 กับรายรับในปี 2562 พบว่า สถานประกอบการ ส่ วนใหญ่อยู่ ในระดับทรงตัว ร้ อยละ 46.4 รองลงมาสถานประกอบการยั งคงหดตัว มีร้ อยละ 32.5 สำหรับสถานประกอบการที่ยังคงหดตัวมาก มีร้อยละ 18.0 ส่วนสถานประกอบการที่เริ่มฟื้นตัวหรือขยายตัว บ้างแล้ว มีร้อยละ 3.0 ในขณะที่ สถานประกอบการที่ มีการขยายตัวได้ดี มีเพียงร้อยละ 0.1 เท่านั้น หากพิจารณาอุปสรรคที่ ทำให้ ไม่สามารถฟื้ นตัวได้ พบว่ า ส่ วนใหญ่เกิดจากกำลั งซื้ อยั งคงอ่ อนแอ คิดเป็นร้อยละ 81.8 รองลงมาคือพฤติกรรมของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลง คิดเป็นร้อยละ 63.0 เกิดจากมาตรการ ภาครัฐ คิดเป็นร้อยละ 45.9 และเกิดจากการขนส่ง/การเดินทางยังไม่กลับสู่ระดับปกติ คิดเป็นร้อยละ 12.2 สำหรับอุปสรรคที่เกิดจากการขาดแคลนแรงงาน และลูกค้ามีการสั่งซื้อจากประเทศอื่น คิดเป็นร้อยละ 2.6 และ 2.1 ตามลำดับ (ภาพที่ 2) ขยายตัวได้ดี 0.1 % เริ่มฟื้นหรือ ขยายตัวบ้างแล้ว 3.0 % ยังหดตัวมาก 18.0 % ยังคงหดตัว 32.5 % อยู่ในระดับ ทรงตัว 46.4% 81.8 % 63.0 % 45.9 % 12.2 % 2.6 % 2.1 % พฤติกรรมของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลง มาตรการภาครัฐ การขนส่ง/การเดินทางยังไม่กลับสู่ระดับปกติ ขาดแคลนแรงงาน ลูกค้ามีการสั่งซื้อจากประเทศอื่น ๆ กำลังซื้อยังคงอ่อนแอ ภาพที่ 2 ร้อยละของสถานประกอบการจำแนกตามการฟื้นตัวของสถานประกอบการโดยเปรียบเทียบสัดส่วน รายรับในปี 2565 กับรายรับในปี 2562

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==