สำมะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม พ.ศ.2565 ธุรกิจทางการค้าและธุรกิจทางการบริการ จังหวัดพังงา

ปรับเปลี่ยน กระบวนการขาย/ให้บริการ โดยการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ 5.7% ปรับตัว ไปทำธุรกิจแบบอื่น 3.2% ปรับเปลี่ยนรูปแบบ การทำงาน 1.3% ปรับรูปแบบ การจ้างแรงงาน/พนักงาน 24.0% หยุดกิจการชั่วคราว/ เปิดดำเนินกิจการบางส่วน 65.3% 3.3.2 แนวทางการแก้ไขปัญหาของสถานประกอบการที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด 19 สำหรับสถานประกอบการในจังหวัดพังงา ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด 19 คิดเป็น ร้อยละ 84.3 ซึ่งมีแนวทางการแก้ไขปัญหาในด้านต่างๆ ดังนี้ หยุดกิจการชั่วคราว/เปิดดำเนินกิจการบางส่วน คิดเป็นร้อยละ 65.3 มีการปรับรูปแบบการจ้างงาน/พนักงาน คิดเป็นร้อยละ 24.0 การปรับเปลี่ ยน กระบวนการขาย/ให้บริการโดยการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ คิดเป็นร้อยละ 5.7 นอกจากนี้ยังมีการปรับตัวไปทำ ธุรกิจแบบอื่น คิดเป็นร้อยละ 3.2 และการปรับเปลี่ยนรูปแบบการทำงาน คิดเป็นร้อยละ 1.3 3.3. 3 การฟื้นตัวของสถานประกอบการโดยเปรียบเทียบสัดส่วนรายรับในปี 2565 กับรายรับในปี 2562 (ปีก่อนเกิดสถานการณ์โควิด 19) สำหรับการฟื้นตัวของสถานประกอบการ ในจังหวัดพังงา ที่ได้รับผลกระทบ พบว่าอยู่ในระดับทรง ตัว คิดเป็นร้อยละ 45.5 ยังหดตัวมาก คิดเป็นร้อยละ 26.5 ยังคงหดตัว คิดเป็นร้อยละ 16.4 เริ่มฟื้นตัวหรือมีการ ขยายตัวบ้างแล้ว คิดเป็นร้อยละ 9.4 ส่วนการขยายตัวได้ดี อยู่ในระดับที่น้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 2.2 ในส่วนของสถานประกอบการที่ยังคงหดตัวมาก ไม่สามารถฟื้นตัวได้ มีสาเหตุมาจากหลายปัจจัย ซึ่ง ปัจจัยหลัก คือกำลังซื้อยังคงอ่อนแอ คิดเป็นร้อยละ 95.2 รองลงมาคือ พฤติกรรมของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลง คิดเป็น ร้อยละ 35.4 ตามด้วยการขนส่ง/การเดินทางที่ยังไม่กลับสู่ภาวะปกติ คิดเป็นร้อยละ 6.1 มาตรการจากภาครัฐ คิดเป็น ร้อยละ 5.8 ลูกค้ามีการสั่งซื้อสินค้าจากประเทศอื่นๆ คิดเป็นร้อยละ 2.9 และปัจจัยในเรื่องของการขาดแคลนแรงงาน คิดเป็นร้อยละ 1.5 แนวทางการแก้ไข ไม่ได้รับ 15.7% ได้รับ 84.3% ภาพที่ 1 ร้อยละของสถานประกอบการจำแนกตามแนวทางการแก้ไขปัญหาของสถานประกอบการที่ได้รับ ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==