สำมะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม พ.ศ. 2565 ธุรกิจทางการค้าและธุรกิจทางการบริการ: จังหวัดเพชรบุรี

ปรับเปลี่ยน กระบวนการขาย/ให้บริการ โดยการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ 1.8% ปรับตัว ไปทำธุรกิจแบบอื่น 50.6% ปรับเปลี่ยนรูปแบบ การทำงาน 22.2% ปรับรูปแบบ การจ้างแรงงาน/พนักงาน หยุดกิจการชั่วคราว/ เปิดดำเนินกิจการบางส่วน 0.2% 3.3.2 แนวทางการแก้ไขปัญหาของสถานประกอบการที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด 19 แนวทางการแก้ไขปัญหาของสถานประกอบการที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด 19 พบว่า ส่วนใหญ่สถานประกอบการใช้แนวทางโดยการหยุดกิจการชั่ วคราว/เปิดดำเนินกิจการบางส่วน ร้อยละ 5 0 . 6 รองลงมา คือ ใช้การปรับรูปแบบการจ้างแรงงาน/พนักงาน ร้อยละ 22.2 ปรับเปลี่ยนรูปแบบการ ทำงาน ร้อยละ 3.3 ปรับเปลี่ยนกระบวนการขาย/ให้บริการโดยการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ ร้อยละ 1.8 ปรับตัว ไปทำธุรกิจอื่น ร้อยละ 0.2 และแนวทางอื่นๆ ร้อยละ 8.7 3.3. 3 การฟื้นตัวของสถานประกอบการโดยเปรียบเทียบสัดส่วนรายรับในปี 2565 กับรายรับใน ปี 2562 (ปีก่อนเกิดสถานการณ์โควิด 19) การฟื้นตัวของสถานประกอบการโดยเปรียบเทียบสัดส่วนรายรับในปี 2565 กับรายรับในปี 2562 พบว่า ยังหดตัวมาก ร้อยละ 33 . 7 รองลงมาอยู่ ในระดับทรงตัว ร้อยละ 3 2 . 8 ยังคงหดตัว ร้อยละ 2 4.4 ส่วนเริ่มฟื้นหรือขยายตัวบ้างแล้ว ร้อยละ 9. 1 และสถานประกอบการไม่สามารถขยายตัวได้ โดยอุปสรรคที่ทำ ให้ไม่สามารถฟื้นตัวของสถานประกอบการได้ ส่วนใหญ่เป็นเรื่อง กำลังซื้อยังคงอ่อนแอ ร้อยละ 73.2 รองลงมา พฤติกรรมของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลง ร้อยละ 48.1 และมาตรการภาครัฐ ร้อยละ 35.8 ตามลำดับ แนวทางการแก้ไข ไม่ได้รับ 20.9% ได้รับ 79.1% เริ่มฟื้นหรือ ขยายตัวบ้างแล้ว 9.1% อยู่ในระดับทรงตัว 32.8% ยังคงหดตัว 24.4% ยังหดตัวมาก 33.7% 73.2% 48.1% 35.8% 1.5% 0.1% 1.6% พฤติกรรมของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลง มาตรการภาครัฐ การขนส่ง/การเดินทางยังไม่กลับสู่ระดับปกติ ขาดแคลนแรงงาน ลูกค้ามีการสั่งซื้อจากประเทศอื่น ๆ กำลังซื้อยังคงอ่อนแอ ภาพที่ 1 ร้อยละของสถานประกอบการจำแนกตามแนวทางการแก้ไขปัญหาของสถานประกอบการที่ได้รับ ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 ภาพที่ 2 ร้อยละของสถานประกอบการจำแนกตามการฟื้นตัวของสถานประกอบการโดยเปรียบเทียบสัดส่วน รายรับในปี 2565 กับรายรับในปี 2562 3.3%

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==