สำมะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม พ.ศ.2565 ธุรกิจทางการค้าและธุรกิจทางการบริการ จังหวัดแพร่

38 3. 3 .1 ระดับของผลกระทบที่สถานประกอบการได้รับจากสถานการณ์โควิด 19 เมื่อสอบถามสถานประกอบการประกอบธุรกิจการค้าและบริการ ถึงผลกระทบที่สถาน ประกอบการได้รับจากสถานการณ์โควิด 19 พบว่า ในปี 2564 และปี 2565 โดยมีระดับการได้รับผลกระทบ ตั้งแต่ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด และไม่มีผลกระทบ สามารถแบ่งรายการข้อคำถามได้ดังนี้ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 ทำให้ระดับผลของรายได้/ยอดสั่งซื้อสินค้าลดลง ในปี 2564 และ 2565 ส่วนใหญ่ได้รับผลกระทบในระดับมากมีค่าเฉลี่ยที่ 36.9 และ 34.1 ตามลำดับ ด้านจำนวนลูกค้าลดลง ในปี 2564 และ 2565 ส่วนใหญ่ได้รับผลกระทบในระดับมากมีค่าเฉลี่ยที่ 36.2 และ 33.5 ตามลำดับ ต้นทุนในการดำเนินธุรกิจสูงขึ้น ในปี 2564 และ 2565 ส่วนใหญ่ได้รับผลกระทบในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยที่ 41.7 และ 29.5 ตามลำดับ ด้านสภาพคล่องทางการเงินลดลง ในปี 2564 และ 2565 ส่วนใหญ่ ได้รับผลกระทบในระดับมากมีค่าเฉลี่ยที่ 30.3 และ 28.5 ตามลำดับ สำหรับผลกระทบด้านชะลอการจ้าง พนักงานใหม่ ด้านการเลิกจ้างพนักงานและด้านความล่าช้าในการขนส่งสินค้านั้น สถานประกอบการส่วนใหญ่ ไม่ได้รับผลกระทบ ตาราง ฉ ร้อยละของสถานประกอบการ จำแนกตามระดับของผลกระทบที่ได้รับจากสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 ใน ปี 2564 และ ปี 2565 รายการ ระดับผลกระทบที่ได้รับ ปี 2564 ปี 2565 ไม่มี ผลกระทบ น้อย ที่สุด น้อย ปาน กลาง มาก มาก ที่สุด ไม่มี ผลกระทบ น้อย ที่สุด น้อย ปาน กลาง มาก มาก ที่สุด รายได้/ยอดสั่งซื้อสินค้าลดลง 2 . 0 2 . 3 4. 9 21. 4 36 . 9 32.5 2. 3 3.0 14.4 29. 7 34.1 16.6 จำนวนลูกค้าลดลง 2. 9 4.7 8. 1 18.4 36.2 29. 7 3. 4 7.6 15. 2 27.4 33.5 12.9 ต้นทุนในการดำเนินธุรกิจสูงขึ้น 8. 9 1.3 6.7 19. 4 41.7 2 2 . 0 7. 6 3. 3 17. 1 19.3 29.5 23. 2 สภาพคล่องทางการเงินลดลง 16.5 2. 1 10. 3 23. 8 30.3 17.1 16.9 6. 8 14.1 25. 1 28.5 8. 6 ชะลอการจ้างพนักงานใหม่ 88.9 4. 4 2. 4 1. 2 1.3 1.8 87. 7 3.6 2. 5 3.3 1. 3 1.6 เลิกจ้างพนักงาน 87. 5 5. 6 3.6 1.3 0.6 1. 4 86. 3 5. 4 3. 6 2.8 0.6 1.3 ความล่าช้าในการขนส่งสินค้า 76. 3 7.0 3.5 9 . 0 3.3 1 . 0 77.4 9.3 4.8 5. 2 1. 6 1.7 3.3.2 แนวทางการแก้ไขปัญหาของสถานประกอบการที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด 19 สถานประกอบการที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด 19 ได้รับการแก้ไขปัญหาของ ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 พบว่า ได้รับการแก้ไข 64 . 4 % และยังมีบางสถาน ประกอบที่ไม่ได้รับกาช่วยเหลือ อยู่ที่ 35 . 6 % เมื่อพิจารณาแนวทางการแก้ไขปัญหาของสถานประกอบการที่ ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด 19 เมื่อเทียบเป็นร้อยละของแนวทางการแก้ไขปัญหา ที่มีผลกระทบมาก ที่สุด คือ หยุดกิจการชั่วคราว หรือ เปิดดำเนินกิจการบางส่วน ร้อยละ 46 . 8 รองลงมาการปรับรูปแบบการจ้าง แรงงานและพนักงาน ร้อยละ 9 . 2 การปรับตัวไปทำธุรกิจแบบอื่น ร้อยละ 4 . 4 การปรับเปลี่ยนกระบวนการ ขาย การให้บริการโดยการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ ร้อยละ 4.3 และการปรับเปลี่ยนรูปแบบการทำงาน ร้อยละ 1 . 9 ( ตามภาพที่ 1 ) 3.3 ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==