สำมะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม พ.ศ. 2565 ธุรกิจทางการค้าและธุรกิจทางการบริการ: จังหวัดระนอง

3.2.2 รายได้จากการดำเนินงาน ค่าใช้จ่ายขั้นกลาง และมูลค่าเพิ่ม • รายได้จากการดำเนินงาน รายได้จากการดำเนินงานจำแนกตามขนาดของสถานประกอบการในจังหวัดระนอง มีจำนวนทั้งสิ้นประมาณ 23 , 841 , 664.6 พันบาท โดยส่วนใหญ่อยู่ในสถานประกอบการที่มีขนาดเล็ก มีคนทำงาน 1 – 5 คน จำนวน 13 , 079 , 174.9 พันบาท (ร้อยละ 54.9) รองลงมาได้แก่สถานประกอบการ ที่มีขนาดคนทำงาน 6 – 10 คน จำนวน 3 , 232 , 450.4 พันบาท (ร้อยละ 13.6) และสถานประกอบการ ที่มีขนาดคนทำงาน 51 - 200 คน จำนวน 2 , 296 , 465.6 พันบาท (ร้อยละ 9.6) ส่วนรายได้จากการ ดำเนินงานที่เหลืออยู่ในสถานประกอบการขนาดอื่น ๆ หากพิจารณารายได้จากการดำเนินงานจำแนกตาม หมวดย่อยธุรกิจ พบว่า ส่วนใหญ่อยู่ในธุรกิจการขายปลีก (ยกเว้นยานยนต์และจักรยานยน ต์) จำนวน 12 , 861 , 150.9 พันบาท (ร้อยละ 53.9) รองลงมาได้แก่ธุรกิจการขายส่ง (ยกเว้นยานยนต์และ จักรยานยนต์) จำนวน 7 , 791 , 777.4 พันบาท (ร้อยละ 32.7) และ การขายส่งและการขายปลีก การซ่อม ยานยนต์และจักรยานยนต์ จำนวน 1 , 427 , 859.6 พันบาท (ร้อยละ 6.0) รายละเอียดแสดงตามตาราง ง • ค่าใช้จ่ายขั้นกลาง ค่าใช้จ่ายขั้นกลางจำแนกตามขนาดของสถานประกอบการในจังหวัดระนอง มีจำนวน ทั้งสิ้นประมาณ 16 , 253 , 928.4 พันบาท โดยส่วนใหญ่อยู่ในสถานประกอบการที่มีขนาดเล็ก มีคนทำงาน 1 – 5 คน จำนวน 8 , 592 , 048.9 พันบาท (ร้อยละ 52.9) รองลงมาได้แก่สถานประกอบการที่มีขนาด คนทำงาน 6 – 10 คน จำนวน 2 , 413 , 383.3 พันบาท (ร้อยละ 14.8) และสถานประกอบการที่มีขนาด คนทำงาน 51 - 200 คน จำนวน 1 , 815 , 512.1 พันบาท (ร้อยละ 11.2) ส่วนค่าใช้จ่ายขั้นกลางที่เหลืออยู่ใน สถานประกอบการขนาดอื่น ๆ หากพิจารณาค่าใช้จ่ายขั้นกลางจำแนกตามหมวดย่อยธุรกิจ พบว่า ส่วนใหญ่ อยู่ในธุรกิจการขายปลีก (ยกเว้นยานยนต์และจักรยานยนต์) จำนวน 8 , 670 , 685.2 พันบาท (ร้อยละ 53.3) รองลงมาได้แก่ธุรกิจการขายส่ง (ยกเว้นยานยนต์และจักรยานยนต์) จำนวน 5 , 401 , 078.3 พันบาท (ร้อยละ 33.2) ) และ การขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ จำนวน 1 , 076 , 771.1 พันบาท (ร้อยละ 6.6) รายละเอียดแสดงตามตาราง ง • มูลค่าเพิ่ม มูลค่าเพิ่มจำแนกตามขนาดของสถานประกอบการในจังหวัดระนอง มีจำนวนทั้งสิ้น ประมาณ 7 , 587 , 736.1 พันบาท โดยส่วนใหญ่อยู่ในสถานประกอบการที่มีขนาดเล็ก มีคนทำงาน 1 – 5 คน จำนวน 4 , 487 , 126.0 พันบาท (ร้อยละ 59.1) รองลงมาได้แก่สถานประกอบการที่มีขนาดคนทำงาน 26 - 30 คน จำนวน 983 , 415.4 พันบาท (ร้อยละ 13.0) ส่วนมูลค่าเพิ่มที่เหลืออยู่ในสถานประกอบการ ขนาดอื่น ๆ หากพิจารณามูลค่าเพิ่มจำแนกตามหมวดย่อยธุรกิจ พบว่า ส่วนใหญ่อยู่ในธุรกิจการขายปลีก (ยกเว้นยานยนต์และจักรยานยนต์) จำนวน 4 , 190 , 465.7 พันบาท (ร้อยละ 55.2) รองลงมาได้แก่ธุรกิจ การขายส่ง (ยกเว้นยานยนต์และจักรยานยนต์) จำนวน 2 , 390 , 699.1 พันบาท (ร้อยละ 31.5) ) และ การขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ จำนวน 351 , 088.5 พันบาท (ร้อยละ 4.6) รายละเอียดแสดงตามตาราง ง 34

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==