สำมะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม พ.ศ. 2565 ธุรกิจทางการค้าและธุรกิจทางการบริการ: จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

38 3. 3 .1 ระดับของผลกระทบที่สถานประกอบการได้รับจากสถานการณ์โควิด 19 เมื่อพิจารณาสถานประกอบการที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติด เชื้อไวรัสโควิด 19 ในปี 2564 และ ปี 2565 พบว่า ในปี 2565 ผลกระทบที่ได้รับมากที่สุด คือ ต้นทุนในการ ดำเนินธุรกิจสูงขึ้น มีจำนวนเพิ่มขึ้นร้อยละ 19.5 รองลงมา รายได้/ยอดสั่งซื้อสินค้าลดลง ร้อยละ 15.2 จำนวน ลูกค้าลดลง 14.6 และสภาพคล่องทางการเงินลดลง ร้อยละ 8.6 เป็นต้น สำหรับสถานประกอบการที่ไม่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การการแพร่ระบาดของโรค ติดเชื้อไวรัสโควิด 19 ในปี 2564 และ 2565 พบว่า ในปี 2565 ประมาณร้อยละ 77.6 การเลิกจ้างพนักงาน ไม่ได้รับกระทบมากที่สุด รองลงมาชะลอการจ้างพนักงานใหม่ ร้อยละ 72.0 และความล่าช้าในการขนส่งสินค้า ร้อยละ 68.2 เป็นต้น (ตาราง ฉ) ตาราง ฉ ร้อยละของสถานประกอบการ จำแนกตามระดับของผลกระทบที่ได้รับจากสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 ใน ปี 2564 และ ปี 2565 รายการ ระดับผลกระทบที่ได้รับ ปี 2564 ปี 2565 ไม่มี ผลกระทบ น้อย ที่สุด น้อย ปาน กลาง มาก มาก ที่สุด ไม่มี ผลกระทบ น้อย ที่สุด น้อย ปาน กลาง มาก มาก ที่สุด รายได้/ยอดสั่งซื้อสินค้าลดลง 2.7 0.6 8. 3 21.7 40.3 26.4 3. 3 2. 6 17. 1 34.2 27. 6 15. 2 จำนวนลูกค้าลดลง 3. 2 1.8 10. 1 23.1 39. 4 22.4 3.7 5. 2 17.0 35.2 24. 3 14.6 ต้นทุนในการดำเนินธุรกิจสูงขึ้น 5.3 2.2 6. 4 28.0 42. 3 15. 8 6. 4 2. 3 11.6 31.7 28.5 19. 5 สภาพคล่องทางการเงินลดลง 7 .5 2.5 9.5 30.2 34. 3 16.0 8.6 5. 3 14. 4 38. 1 25.0 8. 6 ชะลอการจ้างพนักงานใหม่ 69.4 6. 4 4.6 5.5 6. 8 7.3 72.0 9.3 3. 1 8. 6 4.0 3.0 เลิกจ้างพนักงาน 74. 6 7. 7 2. 8 4.9 4. 6 5. 4 77. 6 8.5 3.2 6.1 2. 4 2.2 ความล่าช้าในการขนส่งสินค้า 64.8 6.8 8. 6 9. 6 4. 1 6. 1 68. 2 6. 3 10.5 10.2 2. 7 2.1 3.3 ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==