สำมะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม พ.ศ.2565 ธุรกิจทางการค้าและธุรกิจทางการบริการ จังหวัดสมุทรปราการ

37 บทที่ 3 ผลการสำมะโน ปรับเปลี่ยน กระบวนการขาย/ให้บริการ โดยการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ 13.0% ปรับตัว ไปทำธุรกิจแบบอื่น 4.9% ปรับเปลี่ยนรูปแบบ การทำงาน 3.1% ปรับรูปแบบ การจ้างแรงงาน/พนักงาน 24.4% หยุดกิจการชั่วคราว/ เปิดดำเนินกิจการบางส่วน 64.6% 3.3.2 แนวทางการแก้ไขปัญหาของสถานประกอบการที่ได้รับผลกระทบจากโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่กระจายโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 ทำให้สถานประกอบการภายใน จังหวัดสมุทรปราการได้รับผลกระทบเป็นอย่างมากถึงร้อยละ 84.5 โดยสถานประกอบการมีการหยุดกิจการ ชั่วคราว/เปิดดำเนินกิจการบางส่วน ร้อยละ 64.6 ของสถานประกอบการทั้งหมด และบางสถานประกอบการ มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการจ้างงานถึงร้อยละ 24.4 3.3. 3 การฟื้นตัวของสถานประกอบการโดยเปรียบเทียบสัดส่วนรายรับในปี 2565 กับรายรับในปี 2562 (ปีก่อนเกิดสถานการณ์โควิด 19) จากข้อมูลการฟื้นตัวของ สถานประกอบการในจังหวัดสมุทรปราการพบว่า สถานประกอบการอยู่ใน ระดับทรงตัวมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 40.6 รองลงมาคือ สถานประกอบการที่ยังคงหดตัว คิดเป็นร้อยละ 33.4 และยังคงหดตัวต่ำมาก ร้อยละ 21.3 โดยปัจจัยส่วนใหญ่นั้นมาจากกำลังซื้อที่ยังคงอ่อนแอ ร้อยละ 91.4 และพฤติกรรมของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลง ร้อยละ 67.6 แนวทางการแก้ไข ไม่ได้รับ 15.5% ได้รับ 84.5% ขยายตัวได้ดี 0.2% เริ่มฟื้นหรือ ขยายตัวบ้างแล้ว 4.5% อยู่ในระดับทรงตัว 40.6% ยังคงหดตัว 33.4% ยังหดตัวมาก 21.3% 91.4% 67.6% 21.6% 14.41% 13.7% 2.4% พฤติกรรมของผู้บริโภค มาตรการภาครัฐ การขนส่ง/การเดินทางยังไม่กลับสู่ ระดับปกติ ขาดแคลนแรงงาน ลูกค้ามีการสั่งซื้อจากประเทศอื่น ๆ กำลังซื้อยังคงอ่อนแอ ภาพที่ 1 ร้อยละของสถานประกอบการจำแนกตามแนวทางการแก้ไขปัญหาของสถานประกอบการที่ได้รับ ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 ภาพที่ 2 ร้อยละของสถานประกอบการจำแนกตามการฟื้นตัวของสถานประกอบการโดยเปรียบเทียบสัดส่วน รายรับในปี 2565 กับรายรับในปี 2562 อื่น ๆ 2.5% หมายเหตุ : ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==